กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก ”
ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นางพัชรา ไทรงาม ประธานศูนย์บริการคนพิการชมรมผู้ปกครองบุคคลออทิสติกประจำจังหวัดตรัง




ชื่อโครงการ โครงการฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก

ที่อยู่ ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 68-L1490-03-01 เลขที่ข้อตกลง 9/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 29 สิงหาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกหล่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1490-03-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 29 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,905.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกหล่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ศูนย์บริการคนพิการ ชมรมผู้ปกครองบุคคลออทิสติกประจำจังหวัดตรัง จัดตั้งขึ้นโดยองค์กรภาคประชาชน ในการส่งเสริมและช่วยเหลือผู้พิการและผู้ดูแลให้เข้าถึงสิทธิและให้ได้มาด้วยสิทธิอันพึงจะได้รับตามกฎหมาย ในทุกด้านรวมถึงการฟื้นฟูและพัฒนาสมรรถภาพผู้พิการตามศักยภาพและความสามารถของแต่ละบุคคล โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาผู้พิการให้มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาที่เหมาะสมกับวัย ความสามารถและความแตกต่างระหว่างบุคคล เป็นการเตรียมความพร้อมที่จะเรียนรู้และสร้างรากฐานชีวิตให้พัฒนาเด็กไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นคนดี มีวินัย รวมถึงคุณภาพชีวิตของครอบครัวคนพิการและผู้ดูแลให้ดีขึ้น อยู่ร่วมสังคมอย่างปกติสุข และในปัจจุบัน เด็กพิเศษอีกไม่น้อยที่ไม่สามารถเข้าถึงบริการต่าง ๆ ของรัฐได้อย่างทั่วถึงในทุกระดับสังคม ซึ่งจากปัญหาดังกล่าวส่งผลให้ เด็กพิเศษส่วนใหญ่ยังขาดการฟื้นฟูในทุกด้าน ขาดโอกาสในการเรียนรู้สู่สังคมภายนอก อันเนื่องมาจากครอบครัวเด็กพิเศษขาดความกล้าและขาดความมั่นใจในการพาเด็กพิเศษเหล่านั้นออกสู่สังคมภายนอกที่นอกเหนือจากบ้านพักและชุมชนในครอบครัวตัวเอง อีกทั้งสังคมส่วนใหญ่ยังขาดความเข้าใจและขาดการยอมรับเด็กพิเศษเท่าที่ควร ซึ่งส่งผลให้เด็กพิเศษเหล่านั้นไม่ได้รับการพัฒนาและฟื้นฟูในด้านต่าง ๆ อย่างเหมาะสมกับช่วงวัยของเขาแต่ละบุคคล เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน รวมทั้งขาดกระบวนการเรียนรู้ในการเข้าสู่สังคม       เด็กพิเศษมักมีปัญหาการเข้าถึงบริการทางทันตกรรม อันเนื่องมาจากอุปสรรคทางความเจ็บป่วยทางด้านร่างกาย อารมณ์ พฤติกรรม ปัจจัยทางด้านครอบครัวต่อแรงกดดันทางสังคม ทำให้ผู้ป่วยกลุ่มนี้มีโอกาสเข้าถึงบริการน้อยกว่าเด็กปกติ ผู้ป่วยโรคออทิสติกมักมีพฤติกรรมในการบริโภค ลักษณะอาหารนิ่ม รสหวาน ชอบรับประทานอาหารซ้ำๆ ประกอบกับการประสานงานของกล้ามเนื้อบดเคี้ยวที่ไม่ค่อยดี และมีข้อจำกัดทางด้านสติปัญญาซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการทำความสะอาดด้วยตนเอง ประกอบกับพฤติกรรมที่ชอบอยู่คนเดียว จึงเป็นการยากที่ผู้ดูแลจะช่วยดูแลทำความสะอาดช่องปากได้ ทำให้ผู้ป่วยโรคออทิสติก มีความเสี่ยงต่อฟันผุสูง ผู้ป่วยโรคออทิสติกนั้นมีปัญหาด้านการสื่อสาร ภาษา และมีภาวะบกพร่องทางสติปัญญาร่วมด้วย อีกทั้งผู้ป่วยไม่ชอบความเปลี่ยนแปลง และมีความไวต่อสิ่งเร้า จึงมีปัญหาทางพฤติกรรมที่เป็นอุปสรรคต่อการรักษา ดังนั้นในการแก้ไขปัญหาทันตสุขภาพของเด็กออทิสติกจึงควรมุ่งเน้นการป้องกันโรคฟันผุ       ดังนั้น ศูนย์บริการคนพิการ ชมรมผู้ปกครองบุคคลออทิสติกประจำจังหวัดตรัง ตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของเด็กพิเศษ จึงริเริ่ม“โครงการฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก” ขึ้น เพื่อให้เด็กพิเศษมีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างความตระหนักรู้และให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพฟันและช่องปากอย่างถูกวิธีแก่เด็กพิเศษและผู้ดูแล
  2. เพื่อลดอัตราการเกิดฝันพุ โรคเหงือกและปัญหาสุขภาพ ช่องปาก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมเด็กๆแปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวัน
  2. จัดอบรมให้ความรู้ด้านสุขภาพช่องปาก แก่ เจ้าหน้าที่ ครู ผู้พิการและผู้ดูแลคนพิการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 20
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้พิการได้รับการส่งเสริมเรียนรู้วิธีการดูแลสุขภาพฟันและช่องปากที่เหมาะสมกับความสามารถและความต้องการเฉพาะบุคคล 2.ผู้ดูแลมีความเข้าใจวิธีช่วยเหลือเด็กพิเศษในการดูแลฟัน 3.ลดอัตราการเกิดฟันผุ โรคเหงือกและปัญหาช่องปากที่พบได้บ่อยในเด็กพิเศษ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างความตระหนักรู้และให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพฟันและช่องปากอย่างถูกวิธีแก่เด็กพิเศษและผู้ดูแล
ตัวชี้วัด : ผู้พิการและผู้ดูแล ร้อยละ 80 มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพฟันและช่องปากอย่างถูกวิธี
1.00

 

2 เพื่อลดอัตราการเกิดฝันพุ โรคเหงือกและปัญหาสุขภาพ ช่องปาก
ตัวชี้วัด : ผู้พิการร้อยละ 80 มีสุขภาพฟันที่แข็งแรง
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 20
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 20
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความตระหนักรู้และให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพฟันและช่องปากอย่างถูกวิธีแก่เด็กพิเศษและผู้ดูแล (2) เพื่อลดอัตราการเกิดฝันพุ โรคเหงือกและปัญหาสุขภาพ ช่องปาก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเด็กๆแปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวัน (2) จัดอบรมให้ความรู้ด้านสุขภาพช่องปาก แก่ เจ้าหน้าที่ ครู  ผู้พิการและผู้ดูแลคนพิการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 68-L1490-03-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางพัชรา ไทรงาม ประธานศูนย์บริการคนพิการชมรมผู้ปกครองบุคคลออทิสติกประจำจังหวัดตรัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด