โครงการหนูน้อยฟันสวย ห่างไกลฟันผุ 3-5 ปี ทันตกรรมโรงพยาบาลเขาชัยสน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการหนูน้อยฟันสวย ห่างไกลฟันผุ 3-5 ปี ทันตกรรมโรงพยาบาลเขาชัยสน ”
ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเขาชัยสน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาชัยสน
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยฟันสวย ห่างไกลฟันผุ 3-5 ปี ทันตกรรมโรงพยาบาลเขาชัยสน
ที่อยู่ ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2568-L3310-01-09 เลขที่ข้อตกลง 9/68
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการหนูน้อยฟันสวย ห่างไกลฟันผุ 3-5 ปี ทันตกรรมโรงพยาบาลเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาชัยสน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยฟันสวย ห่างไกลฟันผุ 3-5 ปี ทันตกรรมโรงพยาบาลเขาชัยสน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการหนูน้อยฟันสวย ห่างไกลฟันผุ 3-5 ปี ทันตกรรมโรงพยาบาลเขาชัยสน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2568-L3310-01-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,920.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาชัยสน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
โรคฟันผุในเด็กเล็ก ถือเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญปัญหาหนึ่ง แต่มักเป็นปัญหาที่ถูกมองข้าม เนื่องจากเป็นโรคที่พบได้ในเด็กเกือบทุกคนและความรุนแรงไม่มากจนถึงแก่ชีวิต ส่งผลให้ผู้ปกครองขาดความตระหนักและไม่ให้ความสำคัญ โรคฟันผุถือเป็นโรคที่เกิดจากปัจจัยหลายอย่างร่วมกัน แต่มีปัจจัยหลักอยู่ 3 ปัจจัยด้วยกัน ปัจจัยแรก คือ การได้รับเชื้อที่ก่อให้เกิดโรคฟันผุ พบว่าเด็กที่ฟันผุมีเชื้อ Mutan Streptocooci สูงกว่าเด็กโดยทั่วไป ปัจจัยที่สอง คือ การให้อาหารแก่เด็กไม่ถูกต้อง เช่น การให้นมหวานแก่เด็ก การรับประทานอาหารระหว่างมื้อ และปัจจัยที่สาม คือ การดูแลทำความสะอาดช่องปากของเด็กไม่ดี พบว่า เด็กที่ฟันไม่ผุ ส่วนมากแปรงฟันอย่างสม่ำเสมอ ต่างจากเด็กที่ฟันผุซึ่งแปรงฟันไม่สม่ำเสมอ แปรงน้อย หรือไม่แปรงเลย และเด็กที่พ่อแม่แปรงฟันให้จะมีฟันผุน้อยกว่าเด็กที่แปรงฟันด้วยตนเอง
จากรายงานผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศ ครั้งที่ 9 พ.ศ.2566 พบว่า เด็กอายุ 3 ปีมีฟันผุระยะเริ่มต้นร้อยละ 38.0 มีความชุกในการเกิดโรคฟันผุร้อยละ 47.0 มีค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด (dmft) 2.5 ซี่ต่อคน และร้อยละ 2.6 ของเด็กอายุ 3 ปีมีประสบการณ์การสูญเสียฟันในช่องปาก นอกจากนี้พบว่าเด็กอายุ 3 ปีมีฟันผุที่ไม่ได้รับการรักษาร้อยละ 46.1 หรือเฉลี่ย 2.4 ซี่ต่อคน ความชุกของการเกิดฟันผุในเด็กอายุ 3 ปีพบสูงสุดในภาคใต้ ร้อยละ 55.5 ค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด 3.2 ซี่ต่อคน ในปี 2567 สภาวะสุขภาพช่องปากในกลุ่มเด็กอายุ 3-5 ปี จังหวัดพัทลุง พบว่า ค่าเฉลี่ยฟันผุ ร้อยละ 40.47 และในปี 2567 สภาวะสุขภาพช่องปากในกลุ่มเด็กอายุ 3-5 ปี อำเภอเขาชัยสน ค่าเฉลี่ยฟันผุ ร้อยละ 41.99 ซึ่งยังคงมีความชุกโรคฟันน้ำนมผุสูงกว่าระดับจังหวัด (สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดพัทลุง, 2567)
เนื่องจากโรคฟันผุในฟันน้ำนมเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้และเด็กเหล่านี้ใช้เวลาส่วนหนึ่งอยู่กับผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่กับผู้ปกครอง ประกอบกับเด็กเหล่านี้ยังไม่สามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเองดังนั้นผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับเด็กควรมีความตระหนักและทัศนคติที่ดีเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปาก การควบคุมอาหารที่ทำให้เกิดฟันผุ และมีแนวทางในการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กเล็ก รวมถึงกิจกรรมที่ส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพเด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ดังนั้นกลุ่มงานทันตสาธารณสุข โรงพยาบาลเขาชัยสน ได้เห็นความสำคัญของกิจกรรมที่สร้างเสริมพัฒนาการที่ดีของเด็กเล็กเพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กจึงได้มีการจัดทำโครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพของเด็กเล็กขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมทันตสุขศึกษาแก่ครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และผู้ปกครองอายุ 3-5 ปี
- เพื่อยับยั้งการลุกลามของโรคฟันผุด้วย SDF
- เพื่อฝึกทักษะการแปรงฟันให้แก่ครู และผู้ปกครองของเด็ก 3-5 ปี
- เพื่อให้เด็กนักเรียนในศพด.ที่มีฟันผุได้รับการอุดฟันอย่างน้อยคนละ 1 ซี่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
154
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีอัตราการเกิดโรคฟันผุลดลง
- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจะได้รับการกระตุ้น ส่งเสริม และสร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็ก ทำให้มีแนวทางการพัฒนาศักยภาพของโรงเรียนในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพช่องปากและป้องกันโรคตามวิถีของชุมชน
- ครู และผู้ปกครองสามารถนำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน
- ครู และผู้ปกครองมีทักษะการแปรงฟันแบบถูกวิธีของเด็ก 3-5 ปี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมทันตสุขศึกษาแก่ครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และผู้ปกครองอายุ 3-5 ปี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของครูและผู้ปกครอง มีความรู้ด้านทันตสุขศึกษาเพิ่มขึ้น
2
เพื่อยับยั้งการลุกลามของโรคฟันผุด้วย SDF
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของเด็กนักเรียนที่ได้รับการทา SDF ฟันหยุดผุ
3
เพื่อฝึกทักษะการแปรงฟันให้แก่ครู และผู้ปกครองของเด็ก 3-5 ปี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของครูและผู้ปกครอง มีทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธีเพิ่มขึ้น
4
เพื่อให้เด็กนักเรียนในศพด.ที่มีฟันผุได้รับการอุดฟันอย่างน้อยคนละ 1 ซี่
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของเด็กที่มีฟันผุได้รับการอุดฟันอย่างน้อยคนละ 1 ซี่
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
154
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
154
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมทันตสุขศึกษาแก่ครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และผู้ปกครองอายุ 3-5 ปี (2) เพื่อยับยั้งการลุกลามของโรคฟันผุด้วย SDF (3) เพื่อฝึกทักษะการแปรงฟันให้แก่ครู และผู้ปกครองของเด็ก 3-5 ปี (4) เพื่อให้เด็กนักเรียนในศพด.ที่มีฟันผุได้รับการอุดฟันอย่างน้อยคนละ 1 ซี่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการหนูน้อยฟันสวย ห่างไกลฟันผุ 3-5 ปี ทันตกรรมโรงพยาบาลเขาชัยสน จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2568-L3310-01-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเขาชัยสน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการหนูน้อยฟันสวย ห่างไกลฟันผุ 3-5 ปี ทันตกรรมโรงพยาบาลเขาชัยสน ”
ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเขาชัยสน
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2568-L3310-01-09 เลขที่ข้อตกลง 9/68
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการหนูน้อยฟันสวย ห่างไกลฟันผุ 3-5 ปี ทันตกรรมโรงพยาบาลเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาชัยสน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยฟันสวย ห่างไกลฟันผุ 3-5 ปี ทันตกรรมโรงพยาบาลเขาชัยสน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการหนูน้อยฟันสวย ห่างไกลฟันผุ 3-5 ปี ทันตกรรมโรงพยาบาลเขาชัยสน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2568-L3310-01-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,920.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาชัยสน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) โรคฟันผุในเด็กเล็ก ถือเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญปัญหาหนึ่ง แต่มักเป็นปัญหาที่ถูกมองข้าม เนื่องจากเป็นโรคที่พบได้ในเด็กเกือบทุกคนและความรุนแรงไม่มากจนถึงแก่ชีวิต ส่งผลให้ผู้ปกครองขาดความตระหนักและไม่ให้ความสำคัญ โรคฟันผุถือเป็นโรคที่เกิดจากปัจจัยหลายอย่างร่วมกัน แต่มีปัจจัยหลักอยู่ 3 ปัจจัยด้วยกัน ปัจจัยแรก คือ การได้รับเชื้อที่ก่อให้เกิดโรคฟันผุ พบว่าเด็กที่ฟันผุมีเชื้อ Mutan Streptocooci สูงกว่าเด็กโดยทั่วไป ปัจจัยที่สอง คือ การให้อาหารแก่เด็กไม่ถูกต้อง เช่น การให้นมหวานแก่เด็ก การรับประทานอาหารระหว่างมื้อ และปัจจัยที่สาม คือ การดูแลทำความสะอาดช่องปากของเด็กไม่ดี พบว่า เด็กที่ฟันไม่ผุ ส่วนมากแปรงฟันอย่างสม่ำเสมอ ต่างจากเด็กที่ฟันผุซึ่งแปรงฟันไม่สม่ำเสมอ แปรงน้อย หรือไม่แปรงเลย และเด็กที่พ่อแม่แปรงฟันให้จะมีฟันผุน้อยกว่าเด็กที่แปรงฟันด้วยตนเอง จากรายงานผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศ ครั้งที่ 9 พ.ศ.2566 พบว่า เด็กอายุ 3 ปีมีฟันผุระยะเริ่มต้นร้อยละ 38.0 มีความชุกในการเกิดโรคฟันผุร้อยละ 47.0 มีค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด (dmft) 2.5 ซี่ต่อคน และร้อยละ 2.6 ของเด็กอายุ 3 ปีมีประสบการณ์การสูญเสียฟันในช่องปาก นอกจากนี้พบว่าเด็กอายุ 3 ปีมีฟันผุที่ไม่ได้รับการรักษาร้อยละ 46.1 หรือเฉลี่ย 2.4 ซี่ต่อคน ความชุกของการเกิดฟันผุในเด็กอายุ 3 ปีพบสูงสุดในภาคใต้ ร้อยละ 55.5 ค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด 3.2 ซี่ต่อคน ในปี 2567 สภาวะสุขภาพช่องปากในกลุ่มเด็กอายุ 3-5 ปี จังหวัดพัทลุง พบว่า ค่าเฉลี่ยฟันผุ ร้อยละ 40.47 และในปี 2567 สภาวะสุขภาพช่องปากในกลุ่มเด็กอายุ 3-5 ปี อำเภอเขาชัยสน ค่าเฉลี่ยฟันผุ ร้อยละ 41.99 ซึ่งยังคงมีความชุกโรคฟันน้ำนมผุสูงกว่าระดับจังหวัด (สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดพัทลุง, 2567) เนื่องจากโรคฟันผุในฟันน้ำนมเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้และเด็กเหล่านี้ใช้เวลาส่วนหนึ่งอยู่กับผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่กับผู้ปกครอง ประกอบกับเด็กเหล่านี้ยังไม่สามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเองดังนั้นผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับเด็กควรมีความตระหนักและทัศนคติที่ดีเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปาก การควบคุมอาหารที่ทำให้เกิดฟันผุ และมีแนวทางในการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กเล็ก รวมถึงกิจกรรมที่ส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพเด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ดังนั้นกลุ่มงานทันตสาธารณสุข โรงพยาบาลเขาชัยสน ได้เห็นความสำคัญของกิจกรรมที่สร้างเสริมพัฒนาการที่ดีของเด็กเล็กเพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กจึงได้มีการจัดทำโครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพของเด็กเล็กขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมทันตสุขศึกษาแก่ครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และผู้ปกครองอายุ 3-5 ปี
- เพื่อยับยั้งการลุกลามของโรคฟันผุด้วย SDF
- เพื่อฝึกทักษะการแปรงฟันให้แก่ครู และผู้ปกครองของเด็ก 3-5 ปี
- เพื่อให้เด็กนักเรียนในศพด.ที่มีฟันผุได้รับการอุดฟันอย่างน้อยคนละ 1 ซี่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 154 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีอัตราการเกิดโรคฟันผุลดลง
- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจะได้รับการกระตุ้น ส่งเสริม และสร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็ก ทำให้มีแนวทางการพัฒนาศักยภาพของโรงเรียนในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพช่องปากและป้องกันโรคตามวิถีของชุมชน
- ครู และผู้ปกครองสามารถนำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน
- ครู และผู้ปกครองมีทักษะการแปรงฟันแบบถูกวิธีของเด็ก 3-5 ปี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมทันตสุขศึกษาแก่ครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และผู้ปกครองอายุ 3-5 ปี ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของครูและผู้ปกครอง มีความรู้ด้านทันตสุขศึกษาเพิ่มขึ้น |
|
|||
2 | เพื่อยับยั้งการลุกลามของโรคฟันผุด้วย SDF ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของเด็กนักเรียนที่ได้รับการทา SDF ฟันหยุดผุ |
|
|||
3 | เพื่อฝึกทักษะการแปรงฟันให้แก่ครู และผู้ปกครองของเด็ก 3-5 ปี ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของครูและผู้ปกครอง มีทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธีเพิ่มขึ้น |
|
|||
4 | เพื่อให้เด็กนักเรียนในศพด.ที่มีฟันผุได้รับการอุดฟันอย่างน้อยคนละ 1 ซี่ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของเด็กที่มีฟันผุได้รับการอุดฟันอย่างน้อยคนละ 1 ซี่ |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 154 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 154 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมทันตสุขศึกษาแก่ครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และผู้ปกครองอายุ 3-5 ปี (2) เพื่อยับยั้งการลุกลามของโรคฟันผุด้วย SDF (3) เพื่อฝึกทักษะการแปรงฟันให้แก่ครู และผู้ปกครองของเด็ก 3-5 ปี (4) เพื่อให้เด็กนักเรียนในศพด.ที่มีฟันผุได้รับการอุดฟันอย่างน้อยคนละ 1 ซี่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการหนูน้อยฟันสวย ห่างไกลฟันผุ 3-5 ปี ทันตกรรมโรงพยาบาลเขาชัยสน จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2568-L3310-01-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเขาชัยสน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......