โครงการส่งเสริมสุขภาพด้านอนามัยแม่และเด็ก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกยา
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพด้านอนามัยแม่และเด็ก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกยา ”
ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายพงษ์ศักดิ์ เผือกสม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาชัยสน
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพด้านอนามัยแม่และเด็ก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกยา
ที่อยู่ ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2568-L3310-1-11 เลขที่ข้อตกลง 12/68
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพด้านอนามัยแม่และเด็ก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกยา จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาชัยสน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพด้านอนามัยแม่และเด็ก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกยา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพด้านอนามัยแม่และเด็ก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกยา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2568-L3310-1-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,080.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาชัยสน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
สถาบันครอบครัวเป็นจุดเริ่มแรกของการดูแลมนุษย์แบบบูรณาการ บุคคลจะมีสุขภาพที่ดีแบบองค์รวม ทั้งกาย จิตวิญญาณได้เริ่มจากการดูแลเอาใจใส่ของบุคคลในครอบครัวและสังคม โดยการดูแลควรเริ่มจากการวางแผนครอบครัว การมีบุตรเมื่อพร้อม การดูแลขณะตั้งครรภ์ตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ (ก่อน 12 สัปดาห์ ของอายุครรภ์) การดำเนินการตั้งครรภ์ที่ดี มีโภชนาการและพัฒนาการของทารกในครรภ์ที่ดี การคลอดที่ปลอดภัย และการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวจนครบ 6 เดือน เป็นกระบวนการวางรากฐานในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก โดยได้รับอาหารที่เหมาะสมเพียงพอ พร้อมทั้งสร้างความรักความอบอุ่น และพัฒนาสมองของลูกตั้งแต่แรกเกิดลูกได้รับการเลี้ยงดูด้วยความรักความอบอุ่นตั้งแต่แรกเริ่มของการมีชีวิตด้วยการกินนมแม่และการโอบกอดเนื้อแนบเนื้อครั้งแรกในห้องคลอด สายใยรักที่ถ่ายทอดสู่ลูกจะเป็นแรงบันดาลใจให้แม่ไม่ทอดทิ้งลูก เลี้ยงลูกด้วยความรักความอบอุ่นทางใจ ซึ่งจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโต พัฒนาการสมวัย และเติบโตเป็นเยาวชนรุ่นใหม่ที่มีสุขภาพกายและจิตที่ดี ไม่ก่อปัญหาสังคมเมื่อเติบโตในอนาคต สถานการณ์งานอนามัยแม่และเด็กในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกยา ย้อนหลัง 3 ปี ตั้งแต่ปี 2565- 2567 พบว่าปี 2565 มีหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ 13 ราย ปี 2566 17 ราย และปี 2567 13 ราย พบอัตราการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ ร้อยละ 92.31 ร้อยละ 82 และร้อยละ 84 ตามลำดับ และหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการดูแลก่อนคลอด 8 ครั้ง ตามเกณฑ์ร้อยละ 15.38 ร้อยละ 22.50 และร้อยละ 47.22 ตามลำดับ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกยาได้ตระหนักถึงความสำคัญของงานดังกล่าว จึงได้ร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น อบต.เขาชัยสน จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพด้านแม่และเด็กขึ้น เพื่อพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กให้ได้ตามเกณฑ์
มาตรฐาน หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่เตรียมตั้งครรภ์และหญิงตั้งครรภ์มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลตนเองให้ตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ป้องกันและลดความเสี่ยงต่างๆ ขณะตั้งครรภ์ ส่งเสริมให้ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย และเด็กมีพัฒนาการที่สมวัยต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่เตรียมตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอด และแกนนำอสม.ด้านอนามัยแม่และเด็กมีความรู้สามารถดูแล เฝ้าระวัง และติดตามภาวะผิดปกติเบื้องต้นได้
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ และฝากครรภ์ 8 ครั้งตามเกณฑ์คุณภาพ
- เพื่อให้มารดาและทารกได้รับการเยี่ยมหลังคลอด 3 ครั้ง ตามเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่เตรียมตั้งครรภ์และหญิงตั้งครรภ์ มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแตนเองให้ตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ
- หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 8 ครั้งตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยลละ 55
- มารดาและทารกได้รับการเยี่ยมหลังคลอด 3 ครั้ง ตามเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่เตรียมตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอด และแกนนำอสม.ด้านอนามัยแม่และเด็กมีความรู้สามารถดูแล เฝ้าระวัง และติดตามภาวะผิดปกติเบื้องต้นได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย สามารถดูแล เฝ้าระวัง และติดตามภาวะผิดปกติเบื้องต้นได้
2
เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ และฝากครรภ์ 8 ครั้งตามเกณฑ์คุณภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 75 ของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝาครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ และร้อยละ 55 ของหญิงตั้งครรภได้รับการฝากครรภ์ครบ 8 ครั้งตามเกณฑ์
3
เพื่อให้มารดาและทารกได้รับการเยี่ยมหลังคลอด 3 ครั้ง ตามเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของมารดาและทารกได้รับการเยี่ยมหลังคลอด 3 ครั้ง ตามเกณฑ์
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่เตรียมตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอด และแกนนำอสม.ด้านอนามัยแม่และเด็กมีความรู้สามารถดูแล เฝ้าระวัง และติดตามภาวะผิดปกติเบื้องต้นได้ (2) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ และฝากครรภ์ 8 ครั้งตามเกณฑ์คุณภาพ (3) เพื่อให้มารดาและทารกได้รับการเยี่ยมหลังคลอด 3 ครั้ง ตามเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพด้านอนามัยแม่และเด็ก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกยา จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2568-L3310-1-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายพงษ์ศักดิ์ เผือกสม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพด้านอนามัยแม่และเด็ก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกยา ”
ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายพงษ์ศักดิ์ เผือกสม
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2568-L3310-1-11 เลขที่ข้อตกลง 12/68
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพด้านอนามัยแม่และเด็ก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกยา จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาชัยสน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพด้านอนามัยแม่และเด็ก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกยา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพด้านอนามัยแม่และเด็ก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกยา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2568-L3310-1-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,080.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาชัยสน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) สถาบันครอบครัวเป็นจุดเริ่มแรกของการดูแลมนุษย์แบบบูรณาการ บุคคลจะมีสุขภาพที่ดีแบบองค์รวม ทั้งกาย จิตวิญญาณได้เริ่มจากการดูแลเอาใจใส่ของบุคคลในครอบครัวและสังคม โดยการดูแลควรเริ่มจากการวางแผนครอบครัว การมีบุตรเมื่อพร้อม การดูแลขณะตั้งครรภ์ตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ (ก่อน 12 สัปดาห์ ของอายุครรภ์) การดำเนินการตั้งครรภ์ที่ดี มีโภชนาการและพัฒนาการของทารกในครรภ์ที่ดี การคลอดที่ปลอดภัย และการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวจนครบ 6 เดือน เป็นกระบวนการวางรากฐานในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก โดยได้รับอาหารที่เหมาะสมเพียงพอ พร้อมทั้งสร้างความรักความอบอุ่น และพัฒนาสมองของลูกตั้งแต่แรกเกิดลูกได้รับการเลี้ยงดูด้วยความรักความอบอุ่นตั้งแต่แรกเริ่มของการมีชีวิตด้วยการกินนมแม่และการโอบกอดเนื้อแนบเนื้อครั้งแรกในห้องคลอด สายใยรักที่ถ่ายทอดสู่ลูกจะเป็นแรงบันดาลใจให้แม่ไม่ทอดทิ้งลูก เลี้ยงลูกด้วยความรักความอบอุ่นทางใจ ซึ่งจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโต พัฒนาการสมวัย และเติบโตเป็นเยาวชนรุ่นใหม่ที่มีสุขภาพกายและจิตที่ดี ไม่ก่อปัญหาสังคมเมื่อเติบโตในอนาคต สถานการณ์งานอนามัยแม่และเด็กในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกยา ย้อนหลัง 3 ปี ตั้งแต่ปี 2565- 2567 พบว่าปี 2565 มีหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ 13 ราย ปี 2566 17 ราย และปี 2567 13 ราย พบอัตราการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ ร้อยละ 92.31 ร้อยละ 82 และร้อยละ 84 ตามลำดับ และหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการดูแลก่อนคลอด 8 ครั้ง ตามเกณฑ์ร้อยละ 15.38 ร้อยละ 22.50 และร้อยละ 47.22 ตามลำดับ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกยาได้ตระหนักถึงความสำคัญของงานดังกล่าว จึงได้ร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น อบต.เขาชัยสน จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพด้านแม่และเด็กขึ้น เพื่อพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กให้ได้ตามเกณฑ์ มาตรฐาน หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่เตรียมตั้งครรภ์และหญิงตั้งครรภ์มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลตนเองให้ตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ป้องกันและลดความเสี่ยงต่างๆ ขณะตั้งครรภ์ ส่งเสริมให้ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย และเด็กมีพัฒนาการที่สมวัยต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่เตรียมตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอด และแกนนำอสม.ด้านอนามัยแม่และเด็กมีความรู้สามารถดูแล เฝ้าระวัง และติดตามภาวะผิดปกติเบื้องต้นได้
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ และฝากครรภ์ 8 ครั้งตามเกณฑ์คุณภาพ
- เพื่อให้มารดาและทารกได้รับการเยี่ยมหลังคลอด 3 ครั้ง ตามเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่เตรียมตั้งครรภ์และหญิงตั้งครรภ์ มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแตนเองให้ตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ
- หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 3. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 8 ครั้งตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยลละ 55
- มารดาและทารกได้รับการเยี่ยมหลังคลอด 3 ครั้ง ตามเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่เตรียมตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอด และแกนนำอสม.ด้านอนามัยแม่และเด็กมีความรู้สามารถดูแล เฝ้าระวัง และติดตามภาวะผิดปกติเบื้องต้นได้ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย สามารถดูแล เฝ้าระวัง และติดตามภาวะผิดปกติเบื้องต้นได้ |
|
|||
2 | เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ และฝากครรภ์ 8 ครั้งตามเกณฑ์คุณภาพ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 75 ของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝาครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ และร้อยละ 55 ของหญิงตั้งครรภได้รับการฝากครรภ์ครบ 8 ครั้งตามเกณฑ์ |
|
|||
3 | เพื่อให้มารดาและทารกได้รับการเยี่ยมหลังคลอด 3 ครั้ง ตามเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของมารดาและทารกได้รับการเยี่ยมหลังคลอด 3 ครั้ง ตามเกณฑ์ |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่เตรียมตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอด และแกนนำอสม.ด้านอนามัยแม่และเด็กมีความรู้สามารถดูแล เฝ้าระวัง และติดตามภาวะผิดปกติเบื้องต้นได้ (2) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ และฝากครรภ์ 8 ครั้งตามเกณฑ์คุณภาพ (3) เพื่อให้มารดาและทารกได้รับการเยี่ยมหลังคลอด 3 ครั้ง ตามเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพด้านอนามัยแม่และเด็ก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกยา จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2568-L3310-1-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายพงษ์ศักดิ์ เผือกสม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......