โครงการประสิทธิผลสเปรย์สมุนไพรหญ้าดอกขาวกับชาชงสมุนไพรหญ้าดอกขาวช่วยลดบุหรี่ ปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการประสิทธิผลสเปรย์สมุนไพรหญ้าดอกขาวกับชาชงสมุนไพรหญ้าดอกขาวช่วยลดบุหรี่ ปีงบประมาณ 2568 ”
รพ.สต.บ้านท่าควาย
หัวหน้าโครงการ
นายภานุวัฒน์ พรหมสังคหะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการประสิทธิผลสเปรย์สมุนไพรหญ้าดอกขาวกับชาชงสมุนไพรหญ้าดอกขาวช่วยลดบุหรี่ ปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ รพ.สต.บ้านท่าควาย จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3312-1-08 เลขที่ข้อตกลง 16/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการประสิทธิผลสเปรย์สมุนไพรหญ้าดอกขาวกับชาชงสมุนไพรหญ้าดอกขาวช่วยลดบุหรี่ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน รพ.สต.บ้านท่าควาย
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการประสิทธิผลสเปรย์สมุนไพรหญ้าดอกขาวกับชาชงสมุนไพรหญ้าดอกขาวช่วยลดบุหรี่ ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการประสิทธิผลสเปรย์สมุนไพรหญ้าดอกขาวกับชาชงสมุนไพรหญ้าดอกขาวช่วยลดบุหรี่ ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ รพ.สต.บ้านท่าควาย รหัสโครงการ 68-L3312-1-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,280.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การบำบัดรักษาในปัจจุบันของผู้ที่เป็นโรคติดบุหรี่ แบ่งออกเป็น 5 วิธีใหญ่ๆ คือ 1) การหักดิบคือการหยุดสูบบุหรี่แบบทันทีทันใด เป็นการเลิกด้วยตนเองโดยอาศัยความอดทนและกำลังใจ อย่างเดียว 2) การให้คำปรึกษาพฤติกรรมบำบัด และจิตสังคมบำบัด 3) การใช้ยาช่วยเลิกบุหรี่ เช่น ยาบูโพรเพียน (Bupropion) เพื่อลดอาการขาดนิโคตินหรือการใช้นิโคตินทดแทน 4) การใช้การให้คำปรึกษา และ พฤติกรรมบำบัด จิตสังคมบำบัดร่วมกับการใช้ยาช่วยเลิกบุหรี่หรือการใช้นิโคตินทดแทนโดยเฉพาะการให้ คำปรึกษาและพฤติกรรมบำบัด (Counseling and behavioral therapies) ซึ่งเป็นวิธีที่ได้รับการพิสูจน์แล้วว่า เป็นแนวทางที่เพิ่มความสำเร็จในการเลิกสูบบุหรี่ และให้ผลตอบแทนคุ้มค่าสามารถลดอัตราการสูบบุหรี่และ ควบคุมการแพร่ระบาดของการสูบบุหรี่ได้ 5) การบำบัดโดยใช้สมุนไพรลดอาการอยากสูบบุหรี่ คือ หญ้าดอกขาว
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าควาย มีปัญหาด้านสุขภาพของประชากรที่หลากหลาย รวมถึงปัญหาการสูบบุหรี่ จากสถิติผู้ป่วยเลิกบุหรี่ที่ผ่านมาสรุปได้ว่า ปี พ.ศ. 2566-2567 มีผู้เข้าคลินิกเลิกบุหรี่ จำนวน 29 ราย สามารถเลิกได้ จำนวน 2 ราย ไม่สามารถเลิกได้ จำนวน 34 ราย ไม่สามารถติดตามได้ จำนวน 5 ราย คลินิกเลิกบุหรี่ เห็นความสำคัญในการดูแลรักษาผู้ป่วยที่มีปัญหาจากการสูบบุหรี่ จึงมีการประเมินรูปแบบการลดการสูบบุหรี่ โดยให้ผู้ที่ต้องการลดสูบบุหรี่ได้รับการประเมินอาการและให้ได้รับการรักษาพยาบาล อย่างถูกต้อง เหมาะสม ด้วยเหตุดังกล่าวนี้ จึงต้องการศึกษาประสิทธิผลสเปรย์สมุนไพรหญ้าดอกขาวกับชาชงสมุนไพรหญ้าดอกขาวช่วยลดบุหรี่ เพื่อให้ผู้ที่ต้องการลดสูบบุหรี่ได้ใช้ชีวิตได้อย่างเหมาะสม และอยู่ในสังคมปกติสุขต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่มีความรู้ในการใช้ยาสมุนไพรหญ้าดอกขาวช่วยลดบุหรี่
- เพื่อศึกษาประสิทธิผลสเปรย์สมุนไพรหญ้าดอกขาวกับชาชงสมุนไพรหญ้าดอกขาวช่วยลดบุหรี่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- วิธีการ/ขั้นตอน
- ประเมินผลการลดบุหรี่โดยตรวจวัดคะแนนการทดสอบการติดสารนิโคติน (FTND) และจำนวนมวนบุหรี่ที่สูบต่อวัน ก่อนเข้าร่วมโครงการ
- กิจกรรมการใช้สมุนไพรหญ้าดอกขาวกับชาชงสมุนไพรหญ้าดอกขาวช่วยลดบุหรี่ ผู้เข้าร่วมโครงการ 60 คน
- การติดตาม ประเมินผลพฤติกรรมการสูบบุหรี่ หลังใช้ยาสมุนไพรช่วยลดบุหรี่
- สรุปและประเมินผลโครการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 หน่วยงานสามารถดำเนินงานพัฒนามาตรการเชิงรุก ในการบำบัดผู้ติดบุหรี่ได้ครอบคลุมบรรลุตามเป้าหมาย
2 สามารถนำไปใช้ในการวางแผนการดำเนินงานการใช้ยาเลิกบุหรี่ อย่างเหมาะสมต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่มีความรู้ในการใช้ยาสมุนไพรหญ้าดอกขาวช่วยลดบุหรี่
ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้สูบบุหรี่มีความรู้ในการใช้ยาสมุนไพรหญ้าดอกขาวช่วยลดบุหรี่
20.00
80.00
2
เพื่อศึกษาประสิทธิผลสเปรย์สมุนไพรหญ้าดอกขาวกับชาชงสมุนไพรหญ้าดอกขาวช่วยลดบุหรี่
ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้สูบหรี่หลังใช้ยาสมุนไพรสามารลดบุหรี่ได้
5.55
20.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่มีความรู้ในการใช้ยาสมุนไพรหญ้าดอกขาวช่วยลดบุหรี่ (2) เพื่อศึกษาประสิทธิผลสเปรย์สมุนไพรหญ้าดอกขาวกับชาชงสมุนไพรหญ้าดอกขาวช่วยลดบุหรี่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) วิธีการ/ขั้นตอน (2) ประเมินผลการลดบุหรี่โดยตรวจวัดคะแนนการทดสอบการติดสารนิโคติน (FTND) และจำนวนมวนบุหรี่ที่สูบต่อวัน ก่อนเข้าร่วมโครงการ (3) กิจกรรมการใช้สมุนไพรหญ้าดอกขาวกับชาชงสมุนไพรหญ้าดอกขาวช่วยลดบุหรี่ ผู้เข้าร่วมโครงการ 60 คน (4) การติดตาม ประเมินผลพฤติกรรมการสูบบุหรี่ หลังใช้ยาสมุนไพรช่วยลดบุหรี่ (5) สรุปและประเมินผลโครการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการประสิทธิผลสเปรย์สมุนไพรหญ้าดอกขาวกับชาชงสมุนไพรหญ้าดอกขาวช่วยลดบุหรี่ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3312-1-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายภานุวัฒน์ พรหมสังคหะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการประสิทธิผลสเปรย์สมุนไพรหญ้าดอกขาวกับชาชงสมุนไพรหญ้าดอกขาวช่วยลดบุหรี่ ปีงบประมาณ 2568 ”
รพ.สต.บ้านท่าควาย
หัวหน้าโครงการ
นายภานุวัฒน์ พรหมสังคหะ
กันยายน 2568
ที่อยู่ รพ.สต.บ้านท่าควาย จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3312-1-08 เลขที่ข้อตกลง 16/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการประสิทธิผลสเปรย์สมุนไพรหญ้าดอกขาวกับชาชงสมุนไพรหญ้าดอกขาวช่วยลดบุหรี่ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน รพ.สต.บ้านท่าควาย
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการประสิทธิผลสเปรย์สมุนไพรหญ้าดอกขาวกับชาชงสมุนไพรหญ้าดอกขาวช่วยลดบุหรี่ ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการประสิทธิผลสเปรย์สมุนไพรหญ้าดอกขาวกับชาชงสมุนไพรหญ้าดอกขาวช่วยลดบุหรี่ ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ รพ.สต.บ้านท่าควาย รหัสโครงการ 68-L3312-1-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,280.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การบำบัดรักษาในปัจจุบันของผู้ที่เป็นโรคติดบุหรี่ แบ่งออกเป็น 5 วิธีใหญ่ๆ คือ 1) การหักดิบคือการหยุดสูบบุหรี่แบบทันทีทันใด เป็นการเลิกด้วยตนเองโดยอาศัยความอดทนและกำลังใจ อย่างเดียว 2) การให้คำปรึกษาพฤติกรรมบำบัด และจิตสังคมบำบัด 3) การใช้ยาช่วยเลิกบุหรี่ เช่น ยาบูโพรเพียน (Bupropion) เพื่อลดอาการขาดนิโคตินหรือการใช้นิโคตินทดแทน 4) การใช้การให้คำปรึกษา และ พฤติกรรมบำบัด จิตสังคมบำบัดร่วมกับการใช้ยาช่วยเลิกบุหรี่หรือการใช้นิโคตินทดแทนโดยเฉพาะการให้ คำปรึกษาและพฤติกรรมบำบัด (Counseling and behavioral therapies) ซึ่งเป็นวิธีที่ได้รับการพิสูจน์แล้วว่า เป็นแนวทางที่เพิ่มความสำเร็จในการเลิกสูบบุหรี่ และให้ผลตอบแทนคุ้มค่าสามารถลดอัตราการสูบบุหรี่และ ควบคุมการแพร่ระบาดของการสูบบุหรี่ได้ 5) การบำบัดโดยใช้สมุนไพรลดอาการอยากสูบบุหรี่ คือ หญ้าดอกขาว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าควาย มีปัญหาด้านสุขภาพของประชากรที่หลากหลาย รวมถึงปัญหาการสูบบุหรี่ จากสถิติผู้ป่วยเลิกบุหรี่ที่ผ่านมาสรุปได้ว่า ปี พ.ศ. 2566-2567 มีผู้เข้าคลินิกเลิกบุหรี่ จำนวน 29 ราย สามารถเลิกได้ จำนวน 2 ราย ไม่สามารถเลิกได้ จำนวน 34 ราย ไม่สามารถติดตามได้ จำนวน 5 ราย คลินิกเลิกบุหรี่ เห็นความสำคัญในการดูแลรักษาผู้ป่วยที่มีปัญหาจากการสูบบุหรี่ จึงมีการประเมินรูปแบบการลดการสูบบุหรี่ โดยให้ผู้ที่ต้องการลดสูบบุหรี่ได้รับการประเมินอาการและให้ได้รับการรักษาพยาบาล อย่างถูกต้อง เหมาะสม ด้วยเหตุดังกล่าวนี้ จึงต้องการศึกษาประสิทธิผลสเปรย์สมุนไพรหญ้าดอกขาวกับชาชงสมุนไพรหญ้าดอกขาวช่วยลดบุหรี่ เพื่อให้ผู้ที่ต้องการลดสูบบุหรี่ได้ใช้ชีวิตได้อย่างเหมาะสม และอยู่ในสังคมปกติสุขต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่มีความรู้ในการใช้ยาสมุนไพรหญ้าดอกขาวช่วยลดบุหรี่
- เพื่อศึกษาประสิทธิผลสเปรย์สมุนไพรหญ้าดอกขาวกับชาชงสมุนไพรหญ้าดอกขาวช่วยลดบุหรี่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- วิธีการ/ขั้นตอน
- ประเมินผลการลดบุหรี่โดยตรวจวัดคะแนนการทดสอบการติดสารนิโคติน (FTND) และจำนวนมวนบุหรี่ที่สูบต่อวัน ก่อนเข้าร่วมโครงการ
- กิจกรรมการใช้สมุนไพรหญ้าดอกขาวกับชาชงสมุนไพรหญ้าดอกขาวช่วยลดบุหรี่ ผู้เข้าร่วมโครงการ 60 คน
- การติดตาม ประเมินผลพฤติกรรมการสูบบุหรี่ หลังใช้ยาสมุนไพรช่วยลดบุหรี่
- สรุปและประเมินผลโครการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 60 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 หน่วยงานสามารถดำเนินงานพัฒนามาตรการเชิงรุก ในการบำบัดผู้ติดบุหรี่ได้ครอบคลุมบรรลุตามเป้าหมาย
2 สามารถนำไปใช้ในการวางแผนการดำเนินงานการใช้ยาเลิกบุหรี่ อย่างเหมาะสมต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่มีความรู้ในการใช้ยาสมุนไพรหญ้าดอกขาวช่วยลดบุหรี่ ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้สูบบุหรี่มีความรู้ในการใช้ยาสมุนไพรหญ้าดอกขาวช่วยลดบุหรี่ |
20.00 | 80.00 |
|
|
2 | เพื่อศึกษาประสิทธิผลสเปรย์สมุนไพรหญ้าดอกขาวกับชาชงสมุนไพรหญ้าดอกขาวช่วยลดบุหรี่ ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้สูบหรี่หลังใช้ยาสมุนไพรสามารลดบุหรี่ได้ |
5.55 | 20.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 60 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่มีความรู้ในการใช้ยาสมุนไพรหญ้าดอกขาวช่วยลดบุหรี่ (2) เพื่อศึกษาประสิทธิผลสเปรย์สมุนไพรหญ้าดอกขาวกับชาชงสมุนไพรหญ้าดอกขาวช่วยลดบุหรี่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) วิธีการ/ขั้นตอน (2) ประเมินผลการลดบุหรี่โดยตรวจวัดคะแนนการทดสอบการติดสารนิโคติน (FTND) และจำนวนมวนบุหรี่ที่สูบต่อวัน ก่อนเข้าร่วมโครงการ (3) กิจกรรมการใช้สมุนไพรหญ้าดอกขาวกับชาชงสมุนไพรหญ้าดอกขาวช่วยลดบุหรี่ ผู้เข้าร่วมโครงการ 60 คน (4) การติดตาม ประเมินผลพฤติกรรมการสูบบุหรี่ หลังใช้ยาสมุนไพรช่วยลดบุหรี่ (5) สรุปและประเมินผลโครการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการประสิทธิผลสเปรย์สมุนไพรหญ้าดอกขาวกับชาชงสมุนไพรหญ้าดอกขาวช่วยลดบุหรี่ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3312-1-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายภานุวัฒน์ พรหมสังคหะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......