กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพมารดาและทารกเชิงรุกตำบลทุ่งตำเสา ”




หัวหน้าโครงการ
นางสาวอาลัชฎาวรรณ สุวรรณะ




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพมารดาและทารกเชิงรุกตำบลทุ่งตำเสา

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 68-L5275-01-001 เลขที่ข้อตกลง 05

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพมารดาและทารกเชิงรุกตำบลทุ่งตำเสา จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพมารดาและทารกเชิงรุกตำบลทุ่งตำเสา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพมารดาและทารกเชิงรุกตำบลทุ่งตำเสา " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 68-L5275-01-001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 211,042.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะโภชนาการของหญิงตั้งครรภ์มีความสำคัญต่อภาวะสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์โดยองค์การยูนิเซฟได้ประมาณการว่า การขาดสารอาหารในสตรีตั้งครรภ์ส่งผลกระทบต่อมารดาและทารก ซึ่งพบทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยมากถึงกว่า ๒๐ ล้านคนต่อปีทั่วโลก นอกจากนี้การขาดสารอาหารยังส่งผลต่อการพัฒนาของรก รกมีขนาดเล็กและเลือดมาเลี้ยงลดลง เกิดภาวะทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ และทารกคลอดก่อนกำหนด สอดคล้องกับการศึกษาจากเหตุไปหาผลแบบย้อนหลังสหสถาบัน : ผลลัพธ์ของการตั้งครรภ์ในมารดาที่มีภาวะขาดสารอาหาร พบความชุกของภาวะขาดสารอาหารในมารดา ร้อยละ ๑๖.๘๕ และมารดากลุ่มนี้มีความเสี่ยงต่อภาวะเลือดจางก่อนคลอด ทารกในครรภ์เจริญเติบโตช้า ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า ๒,๕๐๐กรัม และมีภาวะคลอดก่อนกำหนด (พิมพ์ใจ มาลีรัตน์ และคณะ ๒๕๖๕)
ข้อมูลระบบสารสนเทศเพื่อการกำกับติดตามระดับเขตสปสช.๑๒ สงขลา ณ วันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๖๗ อำเภอหาดใหญ่ ระบุหญิงตั้งครรภ์ มีผลHCT ซีด ร้อยละ ๑๔.๗๒ ใน ๘ ตำบล ไม่รวมตำบลทุ่งตำเสา แต่จากสถานการณ์มารดาและทารกตำบลทุ่งตำเสา ข้อมูลจากโรงพยาบาลหาดใหญ่ ปี ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ ระบุข้อมูลคลอด เท่ากับ ๑๓๓, ๑๐๔, และ ๑๐๕ รายตามลำดับ มีคลอดก่อนกำหนด ร้อยละ ๙.๐๒, ๒.๘๘ และ ๕.๘๓ ตามลำดับ และในปี ๒๕๖๖ ตำบลทุ่งตำเสามีมารดาเสียชีวิตหลังคลอด ๑ ราย รวมถึงการประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนดเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา วาระครั้งที่ ๑/๒๕๖๘ วันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ หน่วยบริการสาธารณสุขในพื้นที่พบปัญหาด้านการปกปิดข้อมูลการตั้งครรภ์ รวมถึงการไม่ให้ความร่วมมือของหหญิงตั้งครรภ์และญาติ ส่งผลต่อการติดตามดูแลสุขภาพของมารดาและทารกในพื้นที่ การพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กเป็นงานที่สำคัญที่จะทำให้เด็กเติบโตมาเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ ต้องมีกระบวนการดูแลพ่อแม่ตั้งแต่ก่อนการตั้งครรภ์ ระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลังคลอด อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อส่งผลให้ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย และเด็กมีพัฒนาการสมวัย สูงดีสมส่วน และจำเป็นต้องมีกระบวนการบูรณาการ เพื่อเป้าหมายเด็กไทยแข็งแรง เก่งดี มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ ตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) ตามแนวทางการพัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพอย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน เน้นฐานการแก้ปัญหา เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา โดยการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชนและครอบครัว ภาคีเครือข่าย งานส่งเสริมสุขภาพ ฝ่ายบริหารงานสาธารณสุข กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา จึงจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพมารดาและทารกเชิงรุกตำบลทุ่งตำเสา ขึ้น โดยบูรณาการทำงานร่วมกับภาคีเครือข่ายสุขภาพในพื้นที่ เพื่อส่งเสริมด้านโภชนาการของมารดาและทารก ลดอันตรายจากการตั้งครรภ์และการคลอด มารดาและทารกมีภาวะโภชนาการที่ดี ได้รับบริการดูแลสุขภาพที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน ครบวงจรตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และหลังคลอด อันส่งผลให้ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย เด็กมีพัฒนาการสมวัย และเติบโตไปเป็นประชากรที่มีคุณภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑) เพื่อส่งเสริมการตั้งครรภ์คุณภาพ ฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์และได้รับการดูแลสุขภาพตลอดอายุครรภ์
  2. ๒) เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการที่เหมาะสมของหญิงตั้งครรภ์ มารดาและทารกหลังคลอด
  3. ๓) เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อย่างน้อย 6 เดือน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ๒. กิจกรรมประชาสัมพันธ์
  2. ๓. กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการมารดาและทารก (จ่ายนม-ไข่)
  3. ๔. กิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่
  4. ๕. กิจกรรมเฝ้าระวังสุขภาพมารดาและทารก (เยี่ยมบ้าน)
  5. ๑. ประชุมคณะทำงาน เพื่อกำหนดแนวทางและแผนการขับเคลื่อนกิจกรรมโครงการ
  6. ๖. สรุปและรายงานผลโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 100
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์ ๒. หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโภชนาการที่ดี ไม่มีภาวะซีดก่อนคลอด ทารกแรกคลอดน้ำหนักมากกว่า ๒,๕๐๐ กรัม ๓. ทารกแรกเกิดได้รับการเลี้ยงด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ๑. ประชุมคณะทำงาน เพื่อกำหนดแนวทางและแผนการขับเคลื่อนกิจกรรมโครงการ

วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมคณะทำงานโครงการส่งเสริมสุขภาพมารดาและทารกเชิงรุกตำบลทุ่งตำเสาในวันศุกร์ที่ ๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๘ ณ ห้องประชุมกันเกรา ๑ สำนักงานเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เพื่อเตรียมความพร้อมจัดกิจกรรมโครงการฯ ให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการสาธารณสุข อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพโดยกระบวนการมีส่วนร่วม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมประชุม 24 คน ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานอนามัยแม่และเด็ก จากรพสต.ทุ่งตำเสา รพสต.หูแร่ รพสต.บ้านหินผุด ประธานอสม.หมู่ที่ 1-10 และเจ้าหน้าที่กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา โดยที่ประชุม มีมติเห็นชอบ บูรณาการความร่วมมือขับเคลื่อนโครงการส่งเสริมสุขภาพมารดาและทารกเชิงรุกตำบลทุ่งตำเสา ตามแผนงานโครงการที่กำหนด

 

20 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑) เพื่อส่งเสริมการตั้งครรภ์คุณภาพ ฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์และได้รับการดูแลสุขภาพตลอดอายุครรภ์
ตัวชี้วัด : ๑) ร้อยละ ๘0 ของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์
0.00

 

2 ๒) เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการที่เหมาะสมของหญิงตั้งครรภ์ มารดาและทารกหลังคลอด
ตัวชี้วัด : 1) ร้อยละ 80 ของหญิงตั้งครรภ์ที่เข้าร่วมโครงการ ไม่มีภาวะซีดก่อนคลอด 2) ร้อยละ ๘0 ของทารกแรกเกิด มีน้ำหนักมากกว่าหรือเท่ากับ 2,500 กรัม
0.00

 

3 ๓) เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อย่างน้อย 6 เดือน
ตัวชี้วัด : ๔) ร้อยละ 50 ของทารกแรกเกิดได้รับการเลี้ยงดูด้วยนมแม่อย่างเดียว อย่างน้อย 6 เดือน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 100
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑)  เพื่อส่งเสริมการตั้งครรภ์คุณภาพ ฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์และได้รับการดูแลสุขภาพตลอดอายุครรภ์ (2) ๒) เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการที่เหมาะสมของหญิงตั้งครรภ์ มารดาและทารกหลังคลอด (3) ๓) เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อย่างน้อย 6 เดือน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๒. กิจกรรมประชาสัมพันธ์ (2) ๓. กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการมารดาและทารก (จ่ายนม-ไข่) (3) ๔. กิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่ (4) ๕. กิจกรรมเฝ้าระวังสุขภาพมารดาและทารก (เยี่ยมบ้าน) (5) ๑. ประชุมคณะทำงาน เพื่อกำหนดแนวทางและแผนการขับเคลื่อนกิจกรรมโครงการ (6) ๖. สรุปและรายงานผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพมารดาและทารกเชิงรุกตำบลทุ่งตำเสา จังหวัด

รหัสโครงการ 68-L5275-01-001

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอาลัชฎาวรรณ สุวรรณะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด