โครงการสตรีคลองขุดร่วมใจออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสตรีคลองขุดร่วมใจออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ”
ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางทิพวรรณ ซ่อนศรี
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการสตรีคลองขุดร่วมใจออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ L5300-68-2-10 เลขที่ข้อตกลง 13/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสตรีคลองขุดร่วมใจออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสตรีคลองขุดร่วมใจออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสตรีคลองขุดร่วมใจออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ L5300-68-2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมมีมากขึ้น มนุษย์ได้มีการเปลี่ยนแปลงธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่ออำนวยความสะดวกในการดำเนินชีวิต ทำให้การใช้กล้ามเนื้อและพลังกายลดลงส่งผลต่อสมรรถภาพร่างกาย และคุณภาพการปฏิบัติงานในหน้าที่ลดลงตามไปด้วย นอกจากนี้ ตามรายงานการค้นคว้าทางการแพทย์ยืนยันว่า การออกกำลังกายหรือการเล่นกีฬาเพียงวันละ ๓๐ นาที และงดสิ่งเสพติดทั้งหลาย จะช่วยทำให้สมรรถภาพร่างกายสมบูรณ์ แข็งแรง อีกทั้งยังลดปัจจัยเสี่ยงต่อโรคต่าง ๆ เช่น โรคหัวใจ โรคความตันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และไขมันในเลือดสูง การออกกำลังกายมีประโยชน์ต่อสุขภาพหลายประการ เช่น ทำให้ร่างกายแข็งแรง ป้องกันโรคภัยไข้เจ็บ ช่วยผ่อนคลายความเครียด ทำให้ร่างกายกระปรี้กระเปร่า นอนหลับสบาย มีสุขภาพดีขึ้น
จากการเก็บข้อมูลด้านพฤติกรรมสุขภาพของสมาชิกในกลุ่มสตรีตำบลคลองขุด ส่วนใหญ่มีมีการออกกำลังกายที่ไม่เพียงพอกับช่วงวัย บางคนไม่ได้ออกกำลังกายเลย ทำให้มีน้ำหนัก ค่า BM! และรอบเอวเกินเกณฑ์มาตรฐาน การขาดการออกกำลังกาย ทำให้การเผาผลาญพลังงานลดลง ส่งผลให้ภูมิคุ้มกันอ่อนแอ และทำให้การไหลเวียนโลหิตน้อยลง ส่งผลให้เป็นกลุ่มเสี่ยงที่จะป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ซึ่งเป็นภัยเงียบที่เกิดจากนิสัยหรือพฤติกรรมในการดำเนินชีวิต ปัจจุบันพบว่าคนไทยมีอัตราการเสียชีวิตจากกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ถึง ๓๗ คน/ชั่วโมง หรือ ๗๒๐,๐๐๐ คน/ปี และคาดว่าในอนาคตมีแนวโน้มที่จะมีผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตเพิ่มมากขึ้น ซึ่งการเต้นบาสโลบเป็นการออกกำลังกายที่มีแบบแผนและมุ่งสร้างความสัมพันธ์ระหว่างการทำงานของสมอง และการเคลื่อนไหวทางร่างกาย ให้มีความสอดคล้องกัน ช่วยเสริมสร้างความจำและความแข็งแรงแก่ผู้ที่ออกกำลังกาย มีการขยับร่างกายทุกส่วน ได้ขยับทั้งแขน ขา เท้า และการโยกย้ายส่ายสะโพกตามทำนองเพลง การเต้นแบบนี้ช่วยย่อยอาหารได้ดี เพราะร่างกายจะหลั่งสารออกมาให้ระบบย่อยอาหารทำงานได้ดี และการเต้นพร้อมบทเพลง จะทำให้มีอารมณ์ที่สนุกสนาน ทำให้จิตใจดีขึ้น ที่สำคัญการเต้นแบบนี้ ทำให้ได้เจอเพื่อนฝูง ทำให้ไม่เหงา และได้พูดคุยสร้างความสัมพันธ์ที่ดี ๆ อีกด้วย และการเต้นบาสโลบสามารถประยุกต์กายเพื่อให้เหมาะสมกับช่วงวัย เพราะหากได้ท่าเต้นแล้วสามารถเลือกจังหวะเพลงช้า เร็วได้
กลุ่มสตรีตำบลคลองขุด จึงเล็งเห็นความสำคัญในการดูแลรักษาสุขภาพตนเองอย่างต่อเนื่อง โดยการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ให้อารมณ์แจ่มใส จิตใจเบิกบาน ลดความเครียดได้ ส่งเสริมการทำกิจกรรมร่วมกันในสังคม โดยมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อกันตามโอกาสเหมาะสม จึงได้จัดทำโครงการสตรีคลองขุดร่วมใจออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมวางแผนการดำเนินงานโครงการ
- กิจกรรมประชุมชี้แจงและตรวจสุขภาพผู้ร่วมโครงการ
- อบรมการดูแลสุขภาพและออกกำลังกายเชิงปฏิบัติการ
- ออกกำลังกายโดยการเต้นบาสโลบ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
35
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลผลิต
ปะชาชนมีกิจกรรมออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ ๓ วัน อย่างน้อยร้อยละ ๘๐ ของสมาชิกชมรม
ผลลัพธ์
ประชาชนและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (ความตันโลหิตสูง เบาหวาน โรคอ้วน) มีความตระหนักถึงการออกกำลังกาย มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงและออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องพร้อมทั้งมีแกนนำในการออกกำลังกาย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
40.00
50.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
35
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
35
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมวางแผนการดำเนินงานโครงการ (2) กิจกรรมประชุมชี้แจงและตรวจสุขภาพผู้ร่วมโครงการ (3) อบรมการดูแลสุขภาพและออกกำลังกายเชิงปฏิบัติการ (4) ออกกำลังกายโดยการเต้นบาสโลบ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสตรีคลองขุดร่วมใจออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ L5300-68-2-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางทิพวรรณ ซ่อนศรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสตรีคลองขุดร่วมใจออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ”
ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางทิพวรรณ ซ่อนศรี
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ L5300-68-2-10 เลขที่ข้อตกลง 13/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสตรีคลองขุดร่วมใจออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสตรีคลองขุดร่วมใจออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสตรีคลองขุดร่วมใจออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ L5300-68-2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมมีมากขึ้น มนุษย์ได้มีการเปลี่ยนแปลงธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่ออำนวยความสะดวกในการดำเนินชีวิต ทำให้การใช้กล้ามเนื้อและพลังกายลดลงส่งผลต่อสมรรถภาพร่างกาย และคุณภาพการปฏิบัติงานในหน้าที่ลดลงตามไปด้วย นอกจากนี้ ตามรายงานการค้นคว้าทางการแพทย์ยืนยันว่า การออกกำลังกายหรือการเล่นกีฬาเพียงวันละ ๓๐ นาที และงดสิ่งเสพติดทั้งหลาย จะช่วยทำให้สมรรถภาพร่างกายสมบูรณ์ แข็งแรง อีกทั้งยังลดปัจจัยเสี่ยงต่อโรคต่าง ๆ เช่น โรคหัวใจ โรคความตันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และไขมันในเลือดสูง การออกกำลังกายมีประโยชน์ต่อสุขภาพหลายประการ เช่น ทำให้ร่างกายแข็งแรง ป้องกันโรคภัยไข้เจ็บ ช่วยผ่อนคลายความเครียด ทำให้ร่างกายกระปรี้กระเปร่า นอนหลับสบาย มีสุขภาพดีขึ้น
จากการเก็บข้อมูลด้านพฤติกรรมสุขภาพของสมาชิกในกลุ่มสตรีตำบลคลองขุด ส่วนใหญ่มีมีการออกกำลังกายที่ไม่เพียงพอกับช่วงวัย บางคนไม่ได้ออกกำลังกายเลย ทำให้มีน้ำหนัก ค่า BM! และรอบเอวเกินเกณฑ์มาตรฐาน การขาดการออกกำลังกาย ทำให้การเผาผลาญพลังงานลดลง ส่งผลให้ภูมิคุ้มกันอ่อนแอ และทำให้การไหลเวียนโลหิตน้อยลง ส่งผลให้เป็นกลุ่มเสี่ยงที่จะป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ซึ่งเป็นภัยเงียบที่เกิดจากนิสัยหรือพฤติกรรมในการดำเนินชีวิต ปัจจุบันพบว่าคนไทยมีอัตราการเสียชีวิตจากกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ถึง ๓๗ คน/ชั่วโมง หรือ ๗๒๐,๐๐๐ คน/ปี และคาดว่าในอนาคตมีแนวโน้มที่จะมีผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตเพิ่มมากขึ้น ซึ่งการเต้นบาสโลบเป็นการออกกำลังกายที่มีแบบแผนและมุ่งสร้างความสัมพันธ์ระหว่างการทำงานของสมอง และการเคลื่อนไหวทางร่างกาย ให้มีความสอดคล้องกัน ช่วยเสริมสร้างความจำและความแข็งแรงแก่ผู้ที่ออกกำลังกาย มีการขยับร่างกายทุกส่วน ได้ขยับทั้งแขน ขา เท้า และการโยกย้ายส่ายสะโพกตามทำนองเพลง การเต้นแบบนี้ช่วยย่อยอาหารได้ดี เพราะร่างกายจะหลั่งสารออกมาให้ระบบย่อยอาหารทำงานได้ดี และการเต้นพร้อมบทเพลง จะทำให้มีอารมณ์ที่สนุกสนาน ทำให้จิตใจดีขึ้น ที่สำคัญการเต้นแบบนี้ ทำให้ได้เจอเพื่อนฝูง ทำให้ไม่เหงา และได้พูดคุยสร้างความสัมพันธ์ที่ดี ๆ อีกด้วย และการเต้นบาสโลบสามารถประยุกต์กายเพื่อให้เหมาะสมกับช่วงวัย เพราะหากได้ท่าเต้นแล้วสามารถเลือกจังหวะเพลงช้า เร็วได้
กลุ่มสตรีตำบลคลองขุด จึงเล็งเห็นความสำคัญในการดูแลรักษาสุขภาพตนเองอย่างต่อเนื่อง โดยการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ให้อารมณ์แจ่มใส จิตใจเบิกบาน ลดความเครียดได้ ส่งเสริมการทำกิจกรรมร่วมกันในสังคม โดยมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อกันตามโอกาสเหมาะสม จึงได้จัดทำโครงการสตรีคลองขุดร่วมใจออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมวางแผนการดำเนินงานโครงการ
- กิจกรรมประชุมชี้แจงและตรวจสุขภาพผู้ร่วมโครงการ
- อบรมการดูแลสุขภาพและออกกำลังกายเชิงปฏิบัติการ
- ออกกำลังกายโดยการเต้นบาสโลบ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 35 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลผลิต ปะชาชนมีกิจกรรมออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ ๓ วัน อย่างน้อยร้อยละ ๘๐ ของสมาชิกชมรม ผลลัพธ์ ประชาชนและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (ความตันโลหิตสูง เบาหวาน โรคอ้วน) มีความตระหนักถึงการออกกำลังกาย มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงและออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องพร้อมทั้งมีแกนนำในการออกกำลังกาย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน ตัวชี้วัด : ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน |
40.00 | 50.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 35 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 35 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมวางแผนการดำเนินงานโครงการ (2) กิจกรรมประชุมชี้แจงและตรวจสุขภาพผู้ร่วมโครงการ (3) อบรมการดูแลสุขภาพและออกกำลังกายเชิงปฏิบัติการ (4) ออกกำลังกายโดยการเต้นบาสโลบ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสตรีคลองขุดร่วมใจออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ L5300-68-2-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางทิพวรรณ ซ่อนศรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......