โครงการหนูน้อยพิทักษ์ฟันผุในวัยเรียน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการหนูน้อยพิทักษ์ฟันผุในวัยเรียน ”
ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายมะยือรี หะแว
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร
เมษายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยพิทักษ์ฟันผุในวัยเรียน
ที่อยู่ ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4120-01-03 เลขที่ข้อตกลง 001/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 เมษายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการหนูน้อยพิทักษ์ฟันผุในวัยเรียน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยพิทักษ์ฟันผุในวัยเรียน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการหนูน้อยพิทักษ์ฟันผุในวัยเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4120-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 เมษายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ทันตสุขภาพเป็นปัญหาที่สำคัญ ส่งผลกระทบต่อสุขภาพร่างกาย และคุณภาพชีวิต สาเหตุสำคัญมาจากพฤติกรรม และปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพช่องปากที่ไม่เหมาะสม เป็นปัญหาที่พบมากในเด็กนักเรียนระดับประถมศึกษาเมื่อเทียบกับโรคอื่นๆ ทำให้กระทบต่อการเรียนและพัฒนาการของเด็ก เด็กอายุช่วงอายุ 6-12ปีเป็นวัยที่มีฟันแท้ขึ้นมาใหม่ โดยเฉพาะฟันกรามมีหลุมร่องฟันลึก หากขาดความรู้ ความสามารถในการดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตัวเองอย่างถูกวิธี ล้วนเป็นสาเหตุให้เกิดโรคฟันผุได้ง่าย ถ้าเด็กได้รับการอบรบมีความรู้ มีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธีและได้รับการส่งเสริมป้องกันตั้งแต่ระยะแรกเริ่ม สามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตัวเองหรือคนรอบข้างได้ ส่งผลให้อัตราการเกิดโรคฟันผุลดลง
จากข้อมูลตรวจสุขภาพช่องปากในโรงเรียนประถมศึกษาในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านซาไกจำนวน 4 แห่งมีนักเรียนที่ได้ตรวจสุขภาพช่องปากและฟันทั้งหมดจำนวน 208 คน พบฟันแท้ผุจำนวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 18.75มีฟันแท้เสี่ยงเกิดโรคฟันผุระยะแรกเริ่มจำนวน 11 คิดเป็นร้อยละ 5.28 พบเดก็กนักเรียนเหงือกอักเสบจำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 24.03 ถือเป็นปัญหาทันตสาธารณสุขต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน
ฝ่ายทันตสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านซาไก ได้เล็งเห็นความสำคัญ จึงได้จัดทำโครงการทันตสุขภาพ“หนูน้อยพิทักษ์ฟันผุในวัยเรียน”เป็นอีกกิจกรรมหนึ่งที่เพื่อให้ตัวแทนนักเรียนสามารถนำความรู้ ทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันที่ถูกวิธีจากการเข้าร่วมอบรม ไปเผยแพร่ความรู้ สอนเพื่อนๆน้องๆในโรงเรียนเพื่อเฝ้าระวังโรคฟันผุในวัยเรียน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
- เพื่อให้เด็กนักเรียนแปรงฟันได้ถูกวิธี
- เพื่อให้อัตราเกิดโรคฟันผุในเด็กนักเรียนทั้ง 4 โรงเรียนลดลง
- เพื่อให้เด็กนักเรียนในเขตรับผิดชอบทั้ง4โรงเรียนได้รับบริการตรวจฟันและบริการทางทันตกรรมแบบครอบคลุม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคในช่องปาก อาหารที่มีประโยชน์และมีโทษต่อฟัน และสาธิตวิธีการตรวจความสะอาดฟันด้วยการย้อมสีฟันและสาธิตทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธี
- กิจกรรมตรวจฟันและบริการทันตกรรม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
40
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีทันตสุขภาพที่ดีขึ้น
- นักเรียนมีความรู้และทักษะใช้เลือกยาสีฟันที่มีส่วนผสสมของฟลูออไรด์ เลือกแปรงสีฟันที่เหมาะสมและแปรงฟันที่ถูกวิธี สามารถสอนเพื่อนๆและน้องๆดูแลสุขภาพช่องปากและฟันได้
- นักเรียนมีความรู้เรื่องการตรวจความสะอาดฟันด้วยการย้อมสีฟัน
- นักเรียนมีความรู้เรื่องการเลือกบริโภคอาหารที่ไม่กระทบต่อสุขภาพฟัน
- นักเรียนสามารถแปรงฟันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
- อัตราการเกิดโรคฟันผุในเด็กนักเรียนศึกษาเขตรับผิดชอบทั้ง4โรงเรียนลดลงกว่าเดิม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความรู้และทัศนคติในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
100.00
2
เพื่อให้เด็กนักเรียนแปรงฟันได้ถูกวิธี
ตัวชี้วัด : นักเรียนสามารถแปรงฟันอย่างถูกวิธี
100.00
3
เพื่อให้อัตราเกิดโรคฟันผุในเด็กนักเรียนทั้ง 4 โรงเรียนลดลง
ตัวชี้วัด : อัตราการเกิดโรคฟันผุในเด็กนักเรียนทั้ง4โรงเรียนลดลงจากเดิม
15.00
4
เพื่อให้เด็กนักเรียนในเขตรับผิดชอบทั้ง4โรงเรียนได้รับบริการตรวจฟันและบริการทางทันตกรรมแบบครอบคลุม
ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนได้รับการตรวจฟันและบริการทางทันตกรรม
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
40
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน (2) เพื่อให้เด็กนักเรียนแปรงฟันได้ถูกวิธี (3) เพื่อให้อัตราเกิดโรคฟันผุในเด็กนักเรียนทั้ง 4 โรงเรียนลดลง (4) เพื่อให้เด็กนักเรียนในเขตรับผิดชอบทั้ง4โรงเรียนได้รับบริการตรวจฟันและบริการทางทันตกรรมแบบครอบคลุม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคในช่องปาก อาหารที่มีประโยชน์และมีโทษต่อฟัน และสาธิตวิธีการตรวจความสะอาดฟันด้วยการย้อมสีฟันและสาธิตทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธี (2) กิจกรรมตรวจฟันและบริการทันตกรรม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการหนูน้อยพิทักษ์ฟันผุในวัยเรียน จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4120-01-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายมะยือรี หะแว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการหนูน้อยพิทักษ์ฟันผุในวัยเรียน ”
ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายมะยือรี หะแว
เมษายน 2568
ที่อยู่ ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4120-01-03 เลขที่ข้อตกลง 001/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 เมษายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการหนูน้อยพิทักษ์ฟันผุในวัยเรียน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยพิทักษ์ฟันผุในวัยเรียน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการหนูน้อยพิทักษ์ฟันผุในวัยเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4120-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 เมษายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ทันตสุขภาพเป็นปัญหาที่สำคัญ ส่งผลกระทบต่อสุขภาพร่างกาย และคุณภาพชีวิต สาเหตุสำคัญมาจากพฤติกรรม และปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพช่องปากที่ไม่เหมาะสม เป็นปัญหาที่พบมากในเด็กนักเรียนระดับประถมศึกษาเมื่อเทียบกับโรคอื่นๆ ทำให้กระทบต่อการเรียนและพัฒนาการของเด็ก เด็กอายุช่วงอายุ 6-12ปีเป็นวัยที่มีฟันแท้ขึ้นมาใหม่ โดยเฉพาะฟันกรามมีหลุมร่องฟันลึก หากขาดความรู้ ความสามารถในการดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตัวเองอย่างถูกวิธี ล้วนเป็นสาเหตุให้เกิดโรคฟันผุได้ง่าย ถ้าเด็กได้รับการอบรบมีความรู้ มีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธีและได้รับการส่งเสริมป้องกันตั้งแต่ระยะแรกเริ่ม สามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตัวเองหรือคนรอบข้างได้ ส่งผลให้อัตราการเกิดโรคฟันผุลดลง
จากข้อมูลตรวจสุขภาพช่องปากในโรงเรียนประถมศึกษาในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านซาไกจำนวน 4 แห่งมีนักเรียนที่ได้ตรวจสุขภาพช่องปากและฟันทั้งหมดจำนวน 208 คน พบฟันแท้ผุจำนวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 18.75มีฟันแท้เสี่ยงเกิดโรคฟันผุระยะแรกเริ่มจำนวน 11 คิดเป็นร้อยละ 5.28 พบเดก็กนักเรียนเหงือกอักเสบจำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 24.03 ถือเป็นปัญหาทันตสาธารณสุขต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน
ฝ่ายทันตสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านซาไก ได้เล็งเห็นความสำคัญ จึงได้จัดทำโครงการทันตสุขภาพ“หนูน้อยพิทักษ์ฟันผุในวัยเรียน”เป็นอีกกิจกรรมหนึ่งที่เพื่อให้ตัวแทนนักเรียนสามารถนำความรู้ ทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันที่ถูกวิธีจากการเข้าร่วมอบรม ไปเผยแพร่ความรู้ สอนเพื่อนๆน้องๆในโรงเรียนเพื่อเฝ้าระวังโรคฟันผุในวัยเรียน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
- เพื่อให้เด็กนักเรียนแปรงฟันได้ถูกวิธี
- เพื่อให้อัตราเกิดโรคฟันผุในเด็กนักเรียนทั้ง 4 โรงเรียนลดลง
- เพื่อให้เด็กนักเรียนในเขตรับผิดชอบทั้ง4โรงเรียนได้รับบริการตรวจฟันและบริการทางทันตกรรมแบบครอบคลุม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคในช่องปาก อาหารที่มีประโยชน์และมีโทษต่อฟัน และสาธิตวิธีการตรวจความสะอาดฟันด้วยการย้อมสีฟันและสาธิตทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธี
- กิจกรรมตรวจฟันและบริการทันตกรรม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 40 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีทันตสุขภาพที่ดีขึ้น
- นักเรียนมีความรู้และทักษะใช้เลือกยาสีฟันที่มีส่วนผสสมของฟลูออไรด์ เลือกแปรงสีฟันที่เหมาะสมและแปรงฟันที่ถูกวิธี สามารถสอนเพื่อนๆและน้องๆดูแลสุขภาพช่องปากและฟันได้
- นักเรียนมีความรู้เรื่องการตรวจความสะอาดฟันด้วยการย้อมสีฟัน
- นักเรียนมีความรู้เรื่องการเลือกบริโภคอาหารที่ไม่กระทบต่อสุขภาพฟัน
- นักเรียนสามารถแปรงฟันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
- อัตราการเกิดโรคฟันผุในเด็กนักเรียนศึกษาเขตรับผิดชอบทั้ง4โรงเรียนลดลงกว่าเดิม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความรู้และทัศนคติในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน |
100.00 |
|
||
2 | เพื่อให้เด็กนักเรียนแปรงฟันได้ถูกวิธี ตัวชี้วัด : นักเรียนสามารถแปรงฟันอย่างถูกวิธี |
100.00 |
|
||
3 | เพื่อให้อัตราเกิดโรคฟันผุในเด็กนักเรียนทั้ง 4 โรงเรียนลดลง ตัวชี้วัด : อัตราการเกิดโรคฟันผุในเด็กนักเรียนทั้ง4โรงเรียนลดลงจากเดิม |
15.00 |
|
||
4 | เพื่อให้เด็กนักเรียนในเขตรับผิดชอบทั้ง4โรงเรียนได้รับบริการตรวจฟันและบริการทางทันตกรรมแบบครอบคลุม ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนได้รับการตรวจฟันและบริการทางทันตกรรม |
100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 40 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน (2) เพื่อให้เด็กนักเรียนแปรงฟันได้ถูกวิธี (3) เพื่อให้อัตราเกิดโรคฟันผุในเด็กนักเรียนทั้ง 4 โรงเรียนลดลง (4) เพื่อให้เด็กนักเรียนในเขตรับผิดชอบทั้ง4โรงเรียนได้รับบริการตรวจฟันและบริการทางทันตกรรมแบบครอบคลุม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคในช่องปาก อาหารที่มีประโยชน์และมีโทษต่อฟัน และสาธิตวิธีการตรวจความสะอาดฟันด้วยการย้อมสีฟันและสาธิตทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธี (2) กิจกรรมตรวจฟันและบริการทันตกรรม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการหนูน้อยพิทักษ์ฟันผุในวัยเรียน จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4120-01-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายมะยือรี หะแว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......