กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกระบาด ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายสะกะริยา หมะจิ




ชื่อโครงการ โครงการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกระบาด ปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5184-02-01 เลขที่ข้อตกลง 2/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกระบาด ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกระบาด ปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกระบาด ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5184-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 60,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาโรคติดต่อเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญโดยสาเหตุเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศและสิ่งแวดล้อมทำให้เชื้อโรคจะมีชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมได้นานขึ้นเจริญเติบโตได้รวดเร็วสามารถแพร่ระบาดได้ง่ายและเร็ว เช่น โรคติดต่อทางระบบหายใจ (โรคไข้หวัดใหญ่) โรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ (โรคไข้เลือดออก โรคชิกุนคุนยา) โรคติดต่อทางอาหารและน้ำ (อุจจาระร่วง) และโรคติดต่ออื่นๆ (มือเท้าปาก, ฉี่หนู, ตาแดงฯลฯ) โดยประชาชนจะต้องทราบถึงสาเหตุและแนวทางป้องกันโรคที่เกิดขึ้นในพื้นที่เพื่อให้ระมัดระวังและป้องกันปัจจัยเสี่ยงต่อโรคโดยเฉพาะในกลุ่มเด็กเล็กผู้สูงอายุผู้ที่มีโรคประจำตัวและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โรคไข้เลือดออก เป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขของตำบลบ้านนา อำเภอจะนะจังหวัดสงขลา และเป็นโรคติดต่อประจำถิ่นที่แพร่ระบาดได้รวดเร็วเนื่องจากเป็นโรคติดต่อที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค มีการระบาดตลอดปีและพบมากในฤดูฝน จากการสำรวจข้อมูลการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาของโรคไข้เลือดออกในปีที่ผ่านมา พบว่า ประชากรส่วนใหญ่ยังไม่ตระหนักถึงความสำคัญของการกำจัดและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย รวมไปถึงการดูแลสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ส่งผลให้อัตราป่วยของโรคไข้เลือดออกไม่ลดลง ซึ่งเป็นโรคที่พบบ่อยและเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิต จากรายงานการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาของตำบลบ้านนา 5 ปี ย้อนหลัง พ.ศ. 2562, 2563,2564,2565,2566 และ ปี 2567 (ตั้งแต่ 1/1/2567 - 31/12/2567 ) พบว่า อัตราป่วย 85.07,42.54,0,121.53,243.06 และ 368.39 ต่อประชากรแสนคน (งานระบาดวิทยาสสอ.จะนะ) ซึ่งตามเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุขอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจะต้องไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากรและต้องลดลง 20% ของค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี จากสถิติดังกล่าว จะเห็นได้ว่าบางปีอัตราป่วยยังสูงกว่าเกณฑ์ตัวชี้วัดอยู่มาก ดังนั้นการดำเนินงานที่สำคัญที่สุดในการควบคุมโรคติดต่อคือการป้องกันโรค ล่วงหน้า ซึ่งต้องดำเนินการก่อนการเกิดโรคหากเกิดการระบาดแล้วการควบคุมโรคจะทำได้ลำบากและสูญเสียงบประมาณในการดำเนินงานเพิ่มมากขึ้น จึงจำเป็นต้องดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ เช่น โรคไข้เลือดออก โรคชิกุนคุนยา ฯลฯ โดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลบ้านนา เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดให้มีโครงการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกระบาด ปีงบประมาณ 2568 ขึ้น เพื่อให้ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลบ้านนา มีความตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อโดยให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการวางแผนและจัดการกับปัญหาโรคติดต่อต่างๆของชุมชนเอง ส่งผลให้เกิดความยั่งยืนในการควบคุมและป้องกันโรคต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของตำบลบ้านนาไม่ให้เกินเป้าหมายที่กำหนด
  2. 2.เพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมตามหลัก 5ป 1ข และ 3เก็บ 3โรค
  3. 3.เพื่อสร้างความร่วมมือ และส่งเสริมการทำงานร่วมกับชุมชนและภาคีเครือข่ายในการแก้ไขปัญหาโรคติดต่อต่างๆ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 รณรงค์ปรับปรุงกายภาพ (Big Cleaning) ย่อยรายหมู่บ้าน 10 หมู่บ้าน
  2. กิจกรรมที่ 2 พ่นหมอกควัน/พ่นละอองฝอยกรณี เมื่อเกิดผู้ป่วย แบบเร่งด่วนต้องควบคุมโรคภายใน 24 ชั่วโมง
  3. กิจกรรมที่ 3 จัดซื้อวัสดุอื่นๆ เพื่อใช้ในกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
  4. กิจกรรมที่ 4 สรุปผลการดำเนินงานปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานและหาโอกาสพัฒนาต่อไป

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 36
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคและวิธีการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคระบาดที่พบบ่อยในพื้นที่

  2. ประชาชนเกิดความตระหนักและมีส่วนร่วมในการดำเนินการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคระบาดที่พบบ่อยในพื้นที่

  3. ค่า HI และค่า CIลดลงตามเกณฑ์ที่กำหนด

  4. อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกของเทศบาลตำบลบ้านนาลดลง

  5. ประชาชนมีความพึงพอใจต่อโครงการอยู่ในระดับดีขึ้นไป


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของตำบลบ้านนาไม่ให้เกินเป้าหมายที่กำหนด
ตัวชี้วัด : 1.อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ของตำบลบ้านนา ลดลงเหลือไม่เกิน 50 ต่อประชากรแสนคน
0.00

 

2 2.เพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมตามหลัก 5ป 1ข และ 3เก็บ 3โรค
ตัวชี้วัด : 2.ประชาชนมีพฤติกรรมในการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมทางกายภาพตามหลัก 5ป 1ข และ 3เก็บ 3โรค มากกว่าร้อยละ 50
0.00

 

3 3.เพื่อสร้างความร่วมมือ และส่งเสริมการทำงานร่วมกับชุมชนและภาคีเครือข่ายในการแก้ไขปัญหาโรคติดต่อต่างๆ
ตัวชี้วัด : 3.ประชากรเข้าร่วมกิจกรรมโครงการมากกว่าร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 36
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 36
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของตำบลบ้านนาไม่ให้เกินเป้าหมายที่กำหนด (2) 2.เพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมตามหลัก 5ป 1ข และ 3เก็บ 3โรค (3) 3.เพื่อสร้างความร่วมมือ และส่งเสริมการทำงานร่วมกับชุมชนและภาคีเครือข่ายในการแก้ไขปัญหาโรคติดต่อต่างๆ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 รณรงค์ปรับปรุงกายภาพ (Big Cleaning) ย่อยรายหมู่บ้าน 10 หมู่บ้าน (2) กิจกรรมที่ 2 พ่นหมอกควัน/พ่นละอองฝอยกรณี เมื่อเกิดผู้ป่วย แบบเร่งด่วนต้องควบคุมโรคภายใน 24 ชั่วโมง (3) กิจกรรมที่ 3 จัดซื้อวัสดุอื่นๆ เพื่อใช้ในกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก (4) กิจกรรมที่ 4 สรุปผลการดำเนินงานปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานและหาโอกาสพัฒนาต่อไป

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกระบาด ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5184-02-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสะกะริยา หมะจิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด