โครงการรวมพลังสร้างสุขภาพด้วยการเต้นบาสโลบ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรวมพลังสร้างสุขภาพด้วยการเต้นบาสโลบ ”
บ้านกันสามโคก หมู่ที่ 3 ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน
เมษายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการรวมพลังสร้างสุขภาพด้วยการเต้นบาสโลบ
ที่อยู่ บ้านกันสามโคก หมู่ที่ 3 ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 2568-L5179-02-10 เลขที่ข้อตกลง 12/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 เมษายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรวมพลังสร้างสุขภาพด้วยการเต้นบาสโลบ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านกันสามโคก หมู่ที่ 3 ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรวมพลังสร้างสุขภาพด้วยการเต้นบาสโลบ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรวมพลังสร้างสุขภาพด้วยการเต้นบาสโลบ " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านกันสามโคก หมู่ที่ 3 ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 2568-L5179-02-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 เมษายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,430.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยความก้าวหน้าในด้านต่างที่มีความทันสมัย สะดวกสบายมากขึ้น ทำให้วิถีชีวิตของคนในปัจจุบันเปลี่ยนไป ประชาชนมีการออกกำลังกายน้อยลง ทำให้ร่างกายอ่อนแอ และปัจจุบันนี้ ปัญหาโรคไม่ติดต่อได้เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ ในกลุ่มโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ ผู้ป่วยที่พบส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มวันแรงงาน และกลุ่มผู้สูงอายุ จาการสอบถามพบว่า ผู้ป่วยขาดการออกกำลังกาย และบริโภคอาหารไม่ถูกต้อง ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน ซึ่งถ้าประชาชนได้บริโภคอาหารอย่างถูกสุขลักษณะ และมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ก็จะสามารถลดปัญหาดังกล่าว ลงได้ประกอบกับหมู่บ้านกันสามโคก หมู่ที่ 3 ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา ที่มีความมุ่งมั่นที่จะส่งเสริมสนับสนุน และดำเนินการในด้านสุขภาพให้กับประชาชนให้มีสุขภาพกาย และสุขภาพใจดีให้มีความเป็นอยู่อย่างมีความสุข ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม อารมณ์ และสติปัญญา โดยต้องการให้ประชาชนสามารถดูแลสร้างภูมิคุ้มกันให้กับสุขภาพตนเองได้ด้วยการออกกำลังกายสร้างสุขภาพ เพื่อให้มีสุขภาพพลานามัยดี ซึ่งจะเป็นภูมิคุ้มกันโรคได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังสามารถใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
กลุ่มรวมพลังสร้างสุขภาพบ้านกันสามโคก จัดทำโครงการรวมพลังสร้างสุขภาพด้วยบาสโลบ เป็นวิธีการออกำลังกายวิธีหนึ่ง เพื่อเป็นทางเลือกให้แก่ผู้ที่สนใจการกระตุ้นให้เกิดความตระหนักแลตื่นตัว เห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย จึงเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง เป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ แล้วยังช่วยเสริมสร้างให้ร่างกายแข็งแรง ผ่อนคลายอารมณ์ เริมสร้างความสามัคคี และที่สำคัญการออกกำลังกายยังลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคดังกล่าวด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพิ่มกิจกรรมออกกำลังกายเพิ่มขึ้นในกลุ่มประชาชน
- เพิ่มกิจกรรมทางกายให้ประชาชนในทุกๆ สัปดาห์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะทำงาน
- จัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อกิจกรรมทางกาย
- อบรมให้ความรู้ เพิ่มทักษะกิจกรรมทางกายด้วยการเต้นบาสโลบ
- ดำเนินกิจกรรมออกกำลังกายด้วยการเต้นบาสโลบ
- ประเมินสุขภาพของผู้เข้าร่วมโครงการ
- กิจกรรมสรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ทำให้ร่างกายยืดหยุ่นมากขึ้น เมื่อขยับร่างกายไปตามจังหวะเสียงเพลง ยังช่วยลดอาการตึงของกล้ามเนื้อ ลดอาการปวด หรืออักเสบของข้อต่อได้
- ประชาชนออกกำลังกายได้ทุกส่วน การเต้นบาสโลบจะได้ออกสเต็ปตามจังหวะเพลงในทุกส่วนของร่างกาย ทั้ง แขน ขา เอว สะโพก และเท้า
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมคณะทำงาน
วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมคณะทำงาน เพื่อร่วมวางแผนการทำงาน และดำเนินกิจกรรมร่วมกัน
งบประมาณ
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 5 คนๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 150 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คณะทำงานดำเนินโครงการ เข้าใจแผนการดำเนินงาน และได้ทราบแผนการดำเนินงานร่วมกัน
5
0
2. จัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อกิจกรรมทางกาย
วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ร่วมกันจัดสถานที่ออกกำลังกายให้สะอาด เพื่อทำกิจกรรมทางกายได้อย่างสนุกสนาน และปลอดภัย
งบประมาณ
- ไม่มีค่าใช้จ่าย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการออกกำลังกาย
30
0
3. อบรมให้ความรู้ เพิ่มทักษะกิจกรรมทางกายด้วยการเต้นบาสโลบ
วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดกิจกรรมอบรมให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ และทักษะในการทำกิจกรรมทางกายด้วยการเต้นบาสโลบ
งบประมาณ
- ค่าวิทยากร จำนวน 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 30 คนๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 900 บาท
- ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1.2x3 เมตร (ตารางเมตรละ 150 บาท) เป็นเงิน 540 บาท
ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรมประกอบด้วย
- ปากกา จำนวน 30 ด้ามๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 300 บาท
- สมุด จำนวน 30 เล่มๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 300 บาท
- แฟ้ม จำนวน 30 แฟ้มๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 900 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ และทักษะด้วยการเต้นบาสโลบ
30
0
4. ดำเนินกิจกรรมออกกำลังกายด้วยการเต้นบาสโลบ
วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวกับคนในชุมชน โดยการเต้นบาสโลบ สัปดาห์ละ 3 -4 วัน วันละ 30 - 60 นาที จำนวน 40 ครั้ง เป็นระยะเวลา 3 เดือน
งบประมาณ
- ค่าผู้นำออกกำลังกาย จำนวน 3 เดือนๆ ละ 3 ครั้ง เป็นเงิน 900 บาท
- ค่าลำโพงบลูทูธ 12 นิ้ว จำนวน 1 เครื่อง ๆ ละ 2,000 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
- น้ำดื่มเหมาจ่าย 3 เดือนทั้งโครงการ เป็นเงิน 3,000 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้าร่วมได้ทำกิจกรรมเคลื่อนไหวทางกายด้วยการเต้นบาสโลบร่วมกัน
30
0
5. ประเมินสุขภาพของผู้เข้าร่วมโครงการ
วันที่ 20 เมษายน 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประเมินกิจกรรมชั่งน้ำหนักและวัดรอบเอวหลังออกกำลังกาย เพื่อประเมินสุขภาพของผู้เข้าร่วมโครงการ
งบประมาณ
- ค่าสายวัดรอบเอว จำนวน 2 ชิ้นๆ ละ 20 บาท เป็นเงิน 40 บาท
- ค่าเครื่องชั่งน้ำหนัก จำนวน 1 เครื่องๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 300 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประชาชนได้ประเมินกิจกรรมวัดชั่งน้ำหนักและวัดรอบเอว ดูผลลัพธ์ว่าดีขึ้นกว่าหรือไม่ รอบเอวอยู่ในระดับเกณฑ์เหมาะสมหรือไม่
30
0
6. กิจกรรมสรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการ
วันที่ 21 เมษายน 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
สรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการ
งบประมาณ
- ค่าเล่มรายงาน จำนวน 1 เล่มๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 300 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
รายงานสรุปผลการดำเนินงานโครงการ
30
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพิ่มกิจกรรมออกกำลังกายเพิ่มขึ้นในกลุ่มประชาชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนที่มีการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น
53.78
65.25
2
เพิ่มกิจกรรมทางกายให้ประชาชนในทุกๆ สัปดาห์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนมีกิจกรรมทางกายด้วยการออกกำลังกายอย่างน้อย สัปดาห์ละ 3 วัน
51.35
62.17
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
30
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
30
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มกิจกรรมออกกำลังกายเพิ่มขึ้นในกลุ่มประชาชน (2) เพิ่มกิจกรรมทางกายให้ประชาชนในทุกๆ สัปดาห์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน (2) จัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อกิจกรรมทางกาย (3) อบรมให้ความรู้ เพิ่มทักษะกิจกรรมทางกายด้วยการเต้นบาสโลบ (4) ดำเนินกิจกรรมออกกำลังกายด้วยการเต้นบาสโลบ (5) ประเมินสุขภาพของผู้เข้าร่วมโครงการ (6) กิจกรรมสรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรวมพลังสร้างสุขภาพด้วยการเต้นบาสโลบ จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 2568-L5179-02-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรวมพลังสร้างสุขภาพด้วยการเต้นบาสโลบ ”
บ้านกันสามโคก หมู่ที่ 3 ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
เมษายน 2568
ที่อยู่ บ้านกันสามโคก หมู่ที่ 3 ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 2568-L5179-02-10 เลขที่ข้อตกลง 12/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 เมษายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรวมพลังสร้างสุขภาพด้วยการเต้นบาสโลบ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านกันสามโคก หมู่ที่ 3 ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรวมพลังสร้างสุขภาพด้วยการเต้นบาสโลบ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรวมพลังสร้างสุขภาพด้วยการเต้นบาสโลบ " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านกันสามโคก หมู่ที่ 3 ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 2568-L5179-02-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 เมษายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,430.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยความก้าวหน้าในด้านต่างที่มีความทันสมัย สะดวกสบายมากขึ้น ทำให้วิถีชีวิตของคนในปัจจุบันเปลี่ยนไป ประชาชนมีการออกกำลังกายน้อยลง ทำให้ร่างกายอ่อนแอ และปัจจุบันนี้ ปัญหาโรคไม่ติดต่อได้เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ ในกลุ่มโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ ผู้ป่วยที่พบส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มวันแรงงาน และกลุ่มผู้สูงอายุ จาการสอบถามพบว่า ผู้ป่วยขาดการออกกำลังกาย และบริโภคอาหารไม่ถูกต้อง ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน ซึ่งถ้าประชาชนได้บริโภคอาหารอย่างถูกสุขลักษณะ และมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ก็จะสามารถลดปัญหาดังกล่าว ลงได้ประกอบกับหมู่บ้านกันสามโคก หมู่ที่ 3 ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา ที่มีความมุ่งมั่นที่จะส่งเสริมสนับสนุน และดำเนินการในด้านสุขภาพให้กับประชาชนให้มีสุขภาพกาย และสุขภาพใจดีให้มีความเป็นอยู่อย่างมีความสุข ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม อารมณ์ และสติปัญญา โดยต้องการให้ประชาชนสามารถดูแลสร้างภูมิคุ้มกันให้กับสุขภาพตนเองได้ด้วยการออกกำลังกายสร้างสุขภาพ เพื่อให้มีสุขภาพพลานามัยดี ซึ่งจะเป็นภูมิคุ้มกันโรคได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังสามารถใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ กลุ่มรวมพลังสร้างสุขภาพบ้านกันสามโคก จัดทำโครงการรวมพลังสร้างสุขภาพด้วยบาสโลบ เป็นวิธีการออกำลังกายวิธีหนึ่ง เพื่อเป็นทางเลือกให้แก่ผู้ที่สนใจการกระตุ้นให้เกิดความตระหนักแลตื่นตัว เห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย จึงเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง เป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ แล้วยังช่วยเสริมสร้างให้ร่างกายแข็งแรง ผ่อนคลายอารมณ์ เริมสร้างความสามัคคี และที่สำคัญการออกกำลังกายยังลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคดังกล่าวด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพิ่มกิจกรรมออกกำลังกายเพิ่มขึ้นในกลุ่มประชาชน
- เพิ่มกิจกรรมทางกายให้ประชาชนในทุกๆ สัปดาห์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะทำงาน
- จัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อกิจกรรมทางกาย
- อบรมให้ความรู้ เพิ่มทักษะกิจกรรมทางกายด้วยการเต้นบาสโลบ
- ดำเนินกิจกรรมออกกำลังกายด้วยการเต้นบาสโลบ
- ประเมินสุขภาพของผู้เข้าร่วมโครงการ
- กิจกรรมสรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 30 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ทำให้ร่างกายยืดหยุ่นมากขึ้น เมื่อขยับร่างกายไปตามจังหวะเสียงเพลง ยังช่วยลดอาการตึงของกล้ามเนื้อ ลดอาการปวด หรืออักเสบของข้อต่อได้
- ประชาชนออกกำลังกายได้ทุกส่วน การเต้นบาสโลบจะได้ออกสเต็ปตามจังหวะเพลงในทุกส่วนของร่างกาย ทั้ง แขน ขา เอว สะโพก และเท้า
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมคณะทำงาน |
||
วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุมคณะทำงาน เพื่อร่วมวางแผนการทำงาน และดำเนินกิจกรรมร่วมกัน งบประมาณ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 5 คนๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 150 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคณะทำงานดำเนินโครงการ เข้าใจแผนการดำเนินงาน และได้ทราบแผนการดำเนินงานร่วมกัน
|
5 | 0 |
2. จัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อกิจกรรมทางกาย |
||
วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำร่วมกันจัดสถานที่ออกกำลังกายให้สะอาด เพื่อทำกิจกรรมทางกายได้อย่างสนุกสนาน และปลอดภัย งบประมาณ - ไม่มีค่าใช้จ่าย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการออกกำลังกาย
|
30 | 0 |
3. อบรมให้ความรู้ เพิ่มทักษะกิจกรรมทางกายด้วยการเต้นบาสโลบ |
||
วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดกิจกรรมอบรมให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ และทักษะในการทำกิจกรรมทางกายด้วยการเต้นบาสโลบ งบประมาณ - ค่าวิทยากร จำนวน 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 30 คนๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 900 บาท - ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1.2x3 เมตร (ตารางเมตรละ 150 บาท) เป็นเงิน 540 บาท ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรมประกอบด้วย - ปากกา จำนวน 30 ด้ามๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 300 บาท - สมุด จำนวน 30 เล่มๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 300 บาท - แฟ้ม จำนวน 30 แฟ้มๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 900 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ และทักษะด้วยการเต้นบาสโลบ
|
30 | 0 |
4. ดำเนินกิจกรรมออกกำลังกายด้วยการเต้นบาสโลบ |
||
วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวกับคนในชุมชน โดยการเต้นบาสโลบ สัปดาห์ละ 3 -4 วัน วันละ 30 - 60 นาที จำนวน 40 ครั้ง เป็นระยะเวลา 3 เดือน งบประมาณ - ค่าผู้นำออกกำลังกาย จำนวน 3 เดือนๆ ละ 3 ครั้ง เป็นเงิน 900 บาท - ค่าลำโพงบลูทูธ 12 นิ้ว จำนวน 1 เครื่อง ๆ ละ 2,000 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท - น้ำดื่มเหมาจ่าย 3 เดือนทั้งโครงการ เป็นเงิน 3,000 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้าร่วมได้ทำกิจกรรมเคลื่อนไหวทางกายด้วยการเต้นบาสโลบร่วมกัน
|
30 | 0 |
5. ประเมินสุขภาพของผู้เข้าร่วมโครงการ |
||
วันที่ 20 เมษายน 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประเมินกิจกรรมชั่งน้ำหนักและวัดรอบเอวหลังออกกำลังกาย เพื่อประเมินสุขภาพของผู้เข้าร่วมโครงการ งบประมาณ - ค่าสายวัดรอบเอว จำนวน 2 ชิ้นๆ ละ 20 บาท เป็นเงิน 40 บาท - ค่าเครื่องชั่งน้ำหนัก จำนวน 1 เครื่องๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 300 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประชาชนได้ประเมินกิจกรรมวัดชั่งน้ำหนักและวัดรอบเอว ดูผลลัพธ์ว่าดีขึ้นกว่าหรือไม่ รอบเอวอยู่ในระดับเกณฑ์เหมาะสมหรือไม่
|
30 | 0 |
6. กิจกรรมสรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการ |
||
วันที่ 21 เมษายน 2568 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำสรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการ งบประมาณ - ค่าเล่มรายงาน จำนวน 1 เล่มๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 300 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นรายงานสรุปผลการดำเนินงานโครงการ
|
30 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพิ่มกิจกรรมออกกำลังกายเพิ่มขึ้นในกลุ่มประชาชน ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนที่มีการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น |
53.78 | 65.25 |
|
|
2 | เพิ่มกิจกรรมทางกายให้ประชาชนในทุกๆ สัปดาห์ ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนมีกิจกรรมทางกายด้วยการออกกำลังกายอย่างน้อย สัปดาห์ละ 3 วัน |
51.35 | 62.17 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 30 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 30 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มกิจกรรมออกกำลังกายเพิ่มขึ้นในกลุ่มประชาชน (2) เพิ่มกิจกรรมทางกายให้ประชาชนในทุกๆ สัปดาห์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน (2) จัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อกิจกรรมทางกาย (3) อบรมให้ความรู้ เพิ่มทักษะกิจกรรมทางกายด้วยการเต้นบาสโลบ (4) ดำเนินกิจกรรมออกกำลังกายด้วยการเต้นบาสโลบ (5) ประเมินสุขภาพของผู้เข้าร่วมโครงการ (6) กิจกรรมสรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรวมพลังสร้างสุขภาพด้วยการเต้นบาสโลบ จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 2568-L5179-02-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......