โครงการ NEW GEN เทศบาลเมืองปัตตานี ยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ NEW GEN เทศบาลเมืองปัตตานี ยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1) ”
ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายสาอุดี เบ็ญราซัค ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี
กรกฎาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการ NEW GEN เทศบาลเมืองปัตตานี ยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1)
ที่อยู่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L7884-1-06 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ NEW GEN เทศบาลเมืองปัตตานี ยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ NEW GEN เทศบาลเมืองปัตตานี ยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ NEW GEN เทศบาลเมืองปัตตานี ยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L7884-1-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 31 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,155.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันมีปัญหาในสังคมเกิดขึ้นกับวัยรุ่นหลายด้านด้วยกันปัญหาที่เป็นปัญหาหลักๆในระดับประเทศ เช่น ปัญหายาเสพติด ปัญหาครอบครัว ปัญหาการทำแท้ง ปัญหาโรคเอดส์ปัญหาความรุนแรงซึ่งจากผลการศึกษาสถานการณ์ความรุนแรงของปัญหาของประเทศไทยปี 2563 พบว่าสถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทยมีความเสี่ยงที่จะเผชิญกับความรุนแรงค่อนข้างสูงเห็นได้จากจำนวนเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี จำนวนกว่าร้อยละ 35 เคยถูกผู้ดูแล (Caregivers) ทุบตี (Physical Punishment) หรือทำร้ายทางจิตใจ (Psychological Aggression) และในแต่ละปีมีเด็กมากกว่า 10,000 คน ที่เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลเนื่องจากถูกทำร้ายร่างกายโดยส่วนใหญ่เป็นการล่วงละเมิดทางเพศ (Sexual Abuse) สาเหตุเป็นเพราะ พ่อแม่ ผู้ปกครองส่วนหนึ่งของไทยยังเชื่อว่าการทำร้ายร่างกายเพื่อลงโทษเป็นสิ่งจำเป็นในการเลี้ยงดูและอบรมสั่งสอนบุตรหลานของตน จากรายงานของกรมสุขภาพจิต สถาบันวิจัยประชากรและสังคมมหาวิทยาลัยมหิดลพบว่าประเทศไทย มีวัยรุ่นไทย อายุ 10 - 19 ปี ประมาณ 1 ใน 7 คน และเด็กไทย อายุ 5 - 9 ปี ประมาณ 1 ใน 14 คน มีความผิดปกติทางจิตประสาทและอารมณ์,ร้อยละ 17.6 ของวัยรุ่น อายุ 13 - 17 ปี มีความคิดที่อยากฆ่าตัวตาย จึงต้องเร่งยกระดับคุณภาพและความรวดเร็วของบริการสุขภาพจิตของเด็กและวันรุ่นเพื่อเลี่ยงผลกระทบร้ายแรงต่อสุขภาพพัฒนาการและอนาคต
ข้อมูลจากกลุ่มงานจิตเวข โรงพยาบาลปัตตานี พบว่าผู้รับบริการที่จิตแพทย์ ผลวินิจฉัยว่าเป็นโรคซึมเศร้า ในช่วงอายุ 10 - 20 ปี ข้อมูลในปี 2566 จำนวน 231 ราย/ 808 ครั้ง,ปี 2566 จำนวน 454 ราย / 1,813 ครั้ง และปี 2567 จำนวน 784 ราย/ 2,080 ครั้ง
งานศูนย์บริการสาธารณสุขกะลาพอ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองปัตตานีได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาในสังคมที่เกิดขึ้นกับวัยรุ่น เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตและในการแก้ไขปัญหาในโลกยุคสมัยใหม่ได้อย่างเหมาะสม เป็นทรัพยากรที่สำคัญที่สุดในการพัฒนาสังคมไทยทำให้ประเทศชาติเจริญก้าวหน้าต่อไป จึงได้มีการจัดโครงการ NEW GEN เทศบาลเมืองปัตตานี ยุคใหม่ใส่ใจสุขภาพจิต ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น 2. เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิต และลดความเครียดให้กับผู้เข้าร่วมโครงการและกลุ่มเสี่ยง 3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ถึงปัญหาวัยรุ่นในปัจจุบัน เช่นปัญหาความเครียดจากการเรียน ปัญหาการใช้สารเสพติด ปัญหาการมีพฤติกรรมรุนแรง ปัญหาการคบเพื่อนต่างเพศ 4. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีแนวทางในการแก้ปัญหา แนวทางการปฏิบัติตัวและแนวทางในการดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ถึงปัญหาวัยรุ่นในปัจจุบัน เช่นปัญหาความเครียดจากการเรียน ปัญหาการใช้สารเสพติด ปัญหาการมีพฤติกรรมรุนแรง ปัญหาการคบเพื่อนต่างเพศ และสามารถแสดงออกทางพฤติกรรมได้อย่างเหมาะสม
- ส่งเสริมสุขภาพจิตและลดความเครียดให้กับผู้เข้าร่วมโครงการและกลุ่มเสี่ยง
- ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีแนวทางในการแก้ปัญหา แนวทางการปฏิบัติตัว และแนวทางในการดำเนินชีวิตอย่างเหมาะสม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น 2. เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิต และลดความเครียดให้กับผู้เข้าร่วมโครงการและกลุ่มเสี่ยง 3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ถึงปัญหาวัยรุ่นในปัจจุบัน เช่นปัญหาความเครียดจากการเรียน ปัญหาการใช้สารเสพติด ปัญหาการมีพฤติกรรมรุนแรง ปัญหาการคบเพื่อนต่างเพศ 4. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีแนวทางในการแก้ปัญหา แนวทางการปฏิบัติตัวและแนวทางในการดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : 1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น
2. ส่งเสริมสุขภาพจิตและลดความเครียดให้กับผู้เข้าร่วมโครงการและกลุ่มเสี่ยง
3. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ถึงปัญหาวัยรุ่นในปัจจุบัน เช่น ปัญหาความเครียดจากการเรียน ปัญหาการใช้สารเสพติด ปัญหาการมีพฤติกรรมรุนแรง ปัญหาการคบเพื่อนต่างเพศ
4. ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีแนวทางในการแก้ปัญหาแนวทางการปฏิบัติตน และแนวทางในการดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น 2. เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิต และลดความเครียดให้กับผู้เข้าร่วมโครงการและกลุ่มเสี่ยง 3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ถึงปัญหาวัยรุ่นในปัจจุบัน เช่นปัญหาความเครียดจากการเรียน ปัญหาการใช้สารเสพติด ปัญหาการมีพฤติกรรมรุนแรง ปัญหาการคบเพื่อนต่างเพศ 4. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีแนวทางในการแก้ปัญหา แนวทางการปฏิบัติตัวและแนวทางในการดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ NEW GEN เทศบาลเมืองปัตตานี ยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1) จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L7884-1-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสาอุดี เบ็ญราซัค ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ NEW GEN เทศบาลเมืองปัตตานี ยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1) ”
ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายสาอุดี เบ็ญราซัค ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
กรกฎาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L7884-1-06 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ NEW GEN เทศบาลเมืองปัตตานี ยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ NEW GEN เทศบาลเมืองปัตตานี ยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ NEW GEN เทศบาลเมืองปัตตานี ยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L7884-1-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 31 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,155.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันมีปัญหาในสังคมเกิดขึ้นกับวัยรุ่นหลายด้านด้วยกันปัญหาที่เป็นปัญหาหลักๆในระดับประเทศ เช่น ปัญหายาเสพติด ปัญหาครอบครัว ปัญหาการทำแท้ง ปัญหาโรคเอดส์ปัญหาความรุนแรงซึ่งจากผลการศึกษาสถานการณ์ความรุนแรงของปัญหาของประเทศไทยปี 2563 พบว่าสถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทยมีความเสี่ยงที่จะเผชิญกับความรุนแรงค่อนข้างสูงเห็นได้จากจำนวนเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี จำนวนกว่าร้อยละ 35 เคยถูกผู้ดูแล (Caregivers) ทุบตี (Physical Punishment) หรือทำร้ายทางจิตใจ (Psychological Aggression) และในแต่ละปีมีเด็กมากกว่า 10,000 คน ที่เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลเนื่องจากถูกทำร้ายร่างกายโดยส่วนใหญ่เป็นการล่วงละเมิดทางเพศ (Sexual Abuse) สาเหตุเป็นเพราะ พ่อแม่ ผู้ปกครองส่วนหนึ่งของไทยยังเชื่อว่าการทำร้ายร่างกายเพื่อลงโทษเป็นสิ่งจำเป็นในการเลี้ยงดูและอบรมสั่งสอนบุตรหลานของตน จากรายงานของกรมสุขภาพจิต สถาบันวิจัยประชากรและสังคมมหาวิทยาลัยมหิดลพบว่าประเทศไทย มีวัยรุ่นไทย อายุ 10 - 19 ปี ประมาณ 1 ใน 7 คน และเด็กไทย อายุ 5 - 9 ปี ประมาณ 1 ใน 14 คน มีความผิดปกติทางจิตประสาทและอารมณ์,ร้อยละ 17.6 ของวัยรุ่น อายุ 13 - 17 ปี มีความคิดที่อยากฆ่าตัวตาย จึงต้องเร่งยกระดับคุณภาพและความรวดเร็วของบริการสุขภาพจิตของเด็กและวันรุ่นเพื่อเลี่ยงผลกระทบร้ายแรงต่อสุขภาพพัฒนาการและอนาคต ข้อมูลจากกลุ่มงานจิตเวข โรงพยาบาลปัตตานี พบว่าผู้รับบริการที่จิตแพทย์ ผลวินิจฉัยว่าเป็นโรคซึมเศร้า ในช่วงอายุ 10 - 20 ปี ข้อมูลในปี 2566 จำนวน 231 ราย/ 808 ครั้ง,ปี 2566 จำนวน 454 ราย / 1,813 ครั้ง และปี 2567 จำนวน 784 ราย/ 2,080 ครั้ง งานศูนย์บริการสาธารณสุขกะลาพอ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองปัตตานีได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาในสังคมที่เกิดขึ้นกับวัยรุ่น เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตและในการแก้ไขปัญหาในโลกยุคสมัยใหม่ได้อย่างเหมาะสม เป็นทรัพยากรที่สำคัญที่สุดในการพัฒนาสังคมไทยทำให้ประเทศชาติเจริญก้าวหน้าต่อไป จึงได้มีการจัดโครงการ NEW GEN เทศบาลเมืองปัตตานี ยุคใหม่ใส่ใจสุขภาพจิต ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น 2. เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิต และลดความเครียดให้กับผู้เข้าร่วมโครงการและกลุ่มเสี่ยง 3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ถึงปัญหาวัยรุ่นในปัจจุบัน เช่นปัญหาความเครียดจากการเรียน ปัญหาการใช้สารเสพติด ปัญหาการมีพฤติกรรมรุนแรง ปัญหาการคบเพื่อนต่างเพศ 4. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีแนวทางในการแก้ปัญหา แนวทางการปฏิบัติตัวและแนวทางในการดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ถึงปัญหาวัยรุ่นในปัจจุบัน เช่นปัญหาความเครียดจากการเรียน ปัญหาการใช้สารเสพติด ปัญหาการมีพฤติกรรมรุนแรง ปัญหาการคบเพื่อนต่างเพศ และสามารถแสดงออกทางพฤติกรรมได้อย่างเหมาะสม
- ส่งเสริมสุขภาพจิตและลดความเครียดให้กับผู้เข้าร่วมโครงการและกลุ่มเสี่ยง
- ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีแนวทางในการแก้ปัญหา แนวทางการปฏิบัติตัว และแนวทางในการดำเนินชีวิตอย่างเหมาะสม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น 2. เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิต และลดความเครียดให้กับผู้เข้าร่วมโครงการและกลุ่มเสี่ยง 3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ถึงปัญหาวัยรุ่นในปัจจุบัน เช่นปัญหาความเครียดจากการเรียน ปัญหาการใช้สารเสพติด ปัญหาการมีพฤติกรรมรุนแรง ปัญหาการคบเพื่อนต่างเพศ 4. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีแนวทางในการแก้ปัญหา แนวทางการปฏิบัติตัวและแนวทางในการดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม ตัวชี้วัด : 1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น 2. ส่งเสริมสุขภาพจิตและลดความเครียดให้กับผู้เข้าร่วมโครงการและกลุ่มเสี่ยง 3. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ถึงปัญหาวัยรุ่นในปัจจุบัน เช่น ปัญหาความเครียดจากการเรียน ปัญหาการใช้สารเสพติด ปัญหาการมีพฤติกรรมรุนแรง ปัญหาการคบเพื่อนต่างเพศ 4. ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีแนวทางในการแก้ปัญหาแนวทางการปฏิบัติตน และแนวทางในการดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น 2. เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิต และลดความเครียดให้กับผู้เข้าร่วมโครงการและกลุ่มเสี่ยง 3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ถึงปัญหาวัยรุ่นในปัจจุบัน เช่นปัญหาความเครียดจากการเรียน ปัญหาการใช้สารเสพติด ปัญหาการมีพฤติกรรมรุนแรง ปัญหาการคบเพื่อนต่างเพศ 4. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีแนวทางในการแก้ปัญหา แนวทางการปฏิบัติตัวและแนวทางในการดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ NEW GEN เทศบาลเมืองปัตตานี ยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1) จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L7884-1-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสาอุดี เบ็ญราซัค ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......