โครงการส่งเสริมสุขภาพจิต ป้องกันแก้ไขปัญหาการฆ่าตัวตายในวัยรุ่น เขตเทศบาลตำบลแม่ขรี ปีงบประมาณ 2568
ชื่อโครงการ | โครงการส่งเสริมสุขภาพจิต ป้องกันแก้ไขปัญหาการฆ่าตัวตายในวัยรุ่น เขตเทศบาลตำบลแม่ขรี ปีงบประมาณ 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L7575-01-13 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ผู้อำนวยการโรงพยาบาลตะโหมด |
วันที่อนุมัติ | 26 ธันวาคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มิถุนายน 2568 - 31 กรกฎาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 15 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 9,600.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายวิชัย สว่างวัน |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 60 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
จากสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปทำให้วัยรุ่นต้องเผชิญกับปัญหาในการปรับตัวเพื่อให้สอดคล้องกับสังคมในปัจจุบัน ทั้งในด้านความคิด ความเข้าใจ และค่านิยมต่างๆ ซึ่งก่อให้เกิดความเครียด ความขับข้องใจ แยกตัวออกจากสังคม ขาดสัมพันธภาพกับสมาชิกในครอบครัว ท้อแท้และเบื่อหน่ายในชีวิต ประกอบกับที่ต้องเผชิญกับรูปแบบการดำเนินชีวิตแบบใหม่ ส่งผลกระทบอย่างมากต่อตนเองครอบครัวและสังคม ต้องออกจากงานมีรายได้ลดลง ภาวะสุขภาพเสื่อมลงมีโรคทางกายเพิ่มมากขึ้น ยุ่งเกี่ยวกับสิ่งเสพติด สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อจิตใจคนในชุมชนทั้งสิ้น และหากวัยรุ่นไม่ได้รับการดูแลใส่ใจจากบุคคลใกล้ชิดด้วยแล้วจะยิ่งส่งเสริมให้วัยรุ่นมีภาวะซึมเศร้าและความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองลดลงจนเกิดความรู้สึกสิ้นหวังแยกตัวออกจากสังคมเป็นผลให้เกิดความผิดปกติทาง จิตใจที่รุนแรงและอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตได้ ดังนั้น กลุ่มงานจิตเวชและยาเสพติด โรงพยาบาลตะโหมด ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นที่ต้องส่งเสริม สนับสนุน วัยรุ่นในเขตเทศบาลตำบลแม่ขรี จึงได้จัดโครงการส่งเสริมสุขภาพจิตป้องกันและแก้ไขปัญหาฆ่าตัวตายในวัยรุ่น เพื่อให้นำความรู้และทักษะจากการอบรม นำไปถ่ายทอดและให้การช่วยเหลือตนเองและบุคคลอื่นส่งเสริมสุขภาพจิต ป้องกันและแก้ไขปัญหาการฆ่าตัวตาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | มีแกนนำเฝ้าระวังและติดตามผู้พยายามฆ่าตัวตายในกลุ่มรุ่นเขตเทศบาลตำบลแม่ขรี แกนนำเฝ้าระวังและติดตามผู้พยายามฆ่าตัวตาย มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเฝ้าระวังการฆ่าตัวตายมากขึ้น ร้อยละ 60 ของแกนนำที่เข้าร่วมอบรม |
0.00 | |
2 | เพื่อให้เยาวชนมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช แกนนำเฝ้าระวังและติดตามผู้พยายามฆ่าตัวตาย มีความรู้ สามารถเผยแพร่ ข้อมูลข่าวสารได้ และสามารถติดตามผู้พยายามฆ่าตัวตายได้ แกนนำเฝ้าระวังและติดตามผู้พยายามฆ่าตัวตาย สามารถแพร่ความรู้ข้อมูล ข่าวสาร เกี่ยวกับการเฝ้าระวังฆ่าตัวตายในโรงเรียนตนเองได้ ร้อยละ 60 ของแกนนำที่เข้าร่วมอบรม |
0.00 |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : มีแกนนำเฝ้าระวังและติดตามผู้พยายามฆ่าตัวตายในกลุ่มรุ่นเขตเทศบาลตำบลแม่ขรี |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : เพื่อให้เยาวชนมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช แกนนำเฝ้าระวังและติดตามผู้พยายามฆ่าตัวตาย มีความรู้ สามารถเผยแพร่ ข้อมูลข่าวสารได้ และสามารถติดตามผู้พยายามฆ่าตัวตายได้ |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
ไม่ระบุวัตถุประสงค์ |
||||||
27 ธ.ค. 67 - 1 มิ.ย. 68 | ขั้นเตรียมดำเนินการ | 0.00 | - | |||
1 - 31 ก.ค. 68 | ขั้นดำเนินการ | 9,600.00 | - | |||
1 - 31 ส.ค. 68 | 3. ขั้นสรุปผล | 0.00 | - |
หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้
- เพื่อให้เยาวชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองภาวะซึมเศร้าและความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายเพิ่มขึ้น
- เพื่อให้เยาวชนเข้าใจรับรู้ถึงสัญญาณ เตือนในการฆ่าตัวตายกับคนใกล้ตัวและสามารถช่วยเหลือเบื้องต้นได้
- เพื่อสร้างรูปแบบและแนวทางในการป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตายสำหรับสถานศึกษาและในพื้นที่
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 ก.พ. 2568 13:08 น.