โครงการอย.น้อยรอบรู้ ใส่ใจสุขภาพ ปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอย.น้อยรอบรู้ ใส่ใจสุขภาพ ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายสมศักดิ์ ปุรินทราภิบาล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด
กรกฎาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการอย.น้อยรอบรู้ ใส่ใจสุขภาพ ปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-3357-02-011 เลขที่ข้อตกลง .................../2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอย.น้อยรอบรู้ ใส่ใจสุขภาพ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอย.น้อยรอบรู้ ใส่ใจสุขภาพ ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอย.น้อยรอบรู้ ใส่ใจสุขภาพ ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-3357-02-011 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กที่อยู่ในวัยเรียน ส่วนใหญ่มักมีพฤติกรรมในการเลือกซื้อ หรือใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีสีสันต้องตา หรือกำลังอยู่ในช่วงของการโฆษณา ตามสื่อประเภทต่างๆ โดยมิได้คำนึงถึงประโยชน์ อันตราย หรือความปลอดภัย สักเท่าไรพฤติกรรมดังกล่าวนี้อาจเกิดจาก หลายสาเหตุ ตัวอย่างเช่น วิถีการดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนไปจากเดิมเป็นวิถีชีวิตแบบรีบเร่ง และเอาตัวรอดมากขึ้น มีสื่อประเภทต่างๆ เข้ามามีบทบาทในสังคมปัจจุบัน เพิ่มมากขึ้นให้ผู้บริโภคอาจหลงเชื่อจนกระทั่งตัดสินใจเลือกซื้อใช้ผลิตภัณฑ์นั้นๆ ซึ่งต่างจากในอดีต ประชากรมักดำรงชีวิตแบบเอื้ออาทรอีกทั้งด้านการผลิต ยังคงใช้วัสดุจากธรรมชาติเป็นส่วนประกอบมากกว่า รวมถึงมีการเอารัดเอาเปรียบผู้บริโภคด้วยกลวิธีต่างๆ ของผู้ผลิตยังไม่มากเช่นปัจจุบัน นอกจากนี้กลุ่มเยาวชนที่อยู่ในวัยเรียนโดยเฉพาะผู้เรียน อายุระหว่าง 10 – 18 ปีถือว่าเป็นกลุ่มผู้บริโภคอีกกลุ่มหนึ่งที่มีความสำคัญ หากกลุ่มเยาวชนดังกล่าวไม่ได้รับความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ประเภทต่างๆ ซึ่งผู้ผลิตได้ผลิตออกมาเพื่อสนองความต้องการของผู้บริโภคอย่างหลากหลายมีทั้งผลิตภัณฑ์ที่ถูกต้องตามมาตรฐานที่กำหนด แต่ก็ยังคงมีผลิตภัณฑ์ที่ผู้ผลิตได้แอบอ้างสรรพคุณมีการโฆษณาชวนเชื่อเกินความเป็นจริง หรืออาจมีผลิตภัณฑ์ที่มีสารปนเปื้อนเป็นอันตราย ปะปนอยู่เป็นจำนวนมาก พร้อมกันนี้ควรให้ความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร และการอ่านดูข้อมูลโภชนาการจากฉลากผลิตภัณฑ์ควบคู่ไปด้วย หากเยาวชนกลุ่มดังกล่าวมีความรู้และมีทักษะในการเลือกซื้อใช้ผลิตภัณฑ์ประเภทต่างๆ จะทำให้สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันจนสามารถทำให้ปัญหาด้านสุขภาพหรือปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมต่างๆ ลดน้อยลงได้พร้อมทั้งให้ความรู้ให้คำปรึกษาแก่บุคคลในครอบครัว หรือบุคคลทั่วไปได้อย่างมั่นใจ ทางชมรมอสม.รพ.สต.บ้านต้นไทร จึงเกิดความสนใจที่จะแก้ปัญหาดังกล่าวจึงได้ดำเนินการจัดกิจกรรมสร้างและอบรมแกนนำอย.น้อย แก่นักเรียนชั้น ป.4-ป.5 ในโรงเรียนจำนวน 3 โรง ได้แก่ โรงเรียนวัดหัวหมอน โรงเรียนวัดบ่วงช้าง และโรงเรียนบ้านต้นไทร พร้อมทั้งขยายการจัดกิจกรรมต่างๆ ไปยังเครือข่ายผู้ปกครอง และชุมชนด้วย เพื่อช่วยในการแก้ปัญหาดังกล่าวข้างต้น โครงการอย.น้อย ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมอย่างหลากหลายเพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ และเกิดทักษะ ในการเลือกซื้อเลือกใช้อาหารยา และเครื่องสำอางที่เป็นประโยชน์ไม่ส่งผลเสียต่อสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม อีกประการหนึ่งเพื่อเป็นการส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนแกนนำ อย.น้อย ได้รู้จักการทำงานเป็นทีมการวางแผนในการปฏิบัติงานกล้า แสดงออกในการเผยแพร่ความรู้แก่ เพื่อนนักเรียน ผู้ปกครอง และประชาชน ทั่วไปอย่างมั่นใจ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มจำนวนแกนนำนักเรียนเฝ้าระวังความเสี่ยงด้านสุขภาพของตนเองและนักเรียนในโรงเรียน
- เพื่อให้แกนนำนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจการดูแลสุขภาพและโภชนาการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้อย.น้อยรอบรู้ใส่ใจสุขภาพ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
45
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.สร้างแกนนำอย.น้อยในโรงเรียน
2.นักเรียนมีสุขภาพดี สามารถดูแลสุขภาพตนเองและนักเรียนในโรงเรียนได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมให้ความรู้อย.น้อยรอบรู้ใส่ใจสุขภาพ
วันที่ 30 พฤษภาคม 2568 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
- นักเรียนลงทะเบียนเข้ารับการอบรม และทำแบบสอบถามก่อนการอบรม
- อบรมให้ความรู้หัวข้อเรื่องการดูแลสุขภาพเบื้องต้น, ภาวะโภชนาการที่เหมาะสมตามกลุ่มวัย และการอ่านฉลากโภชนาการแบบ GDA, การเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ,การใช้ยาสมเหตุผล และทำแบบสอบถามหลังการอบรม
- เข้าฐานฝึกปฏิบัติการตรวจสารปนเปื้อนในอาหารสด สารอันตรายในเครื่องสำอาง และฐานการอ่านฉลากโภชนาการ โดยมี เจ้าหน้าที่รพ.สต.บ้านต้นไทร อสม.นักวิทย์ฯ และนักศึกษาเภสัชกร เป็นพี่เลี้ยง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.สรุปผลการทำแบบสอบถามแกนนำอย.น้อย จำนวน 51 คน
-ทำแบบสอบถามหลังอบรมคะแนนลดลง 12 คน คิดเป็นร้อยละ 23.53
-ทำแบบสอบถามหลังอบรมคะแนนเท่าเดิม 10 คน คิดเป็นร้อยละ 19.61
-ทำแบบสอบถามหลังอบรมคะแนนเพิ่มขึ้น 29 คน คิดเป็นร้อยละ 56.86
ผลการทำแบบสอบถามก่อนและหลังการอบรม แยกตามโรงเรียน ดังนี้
-รร.บ้านต้นไทร จำนวน 4 คน ก่อนอบรม ระดับน้อย - ระดับพอใช้ 2(50.00) ระดับดี 2(50.00)
หลังอบรม ระดับน้อย - ระดับพอใช้ 2(50.00) ระดับดี -
-รร.วัดบ่วงช้าง จำนวน 16 คน ก่อนอบรม ระดับน้อย 4(25.00) ระดับพอใช้ 12(75.00) ระดับดี -
หลังอบรม ระดับน้อย 2(12.50) ระดับพอใช้ 11(68.75) ระดับดี 3(18.75)
-รร.วัดหัวหมอน จำนวน 31 คน ก่อนอบรม ระดับน้อย 11(35.48) ระดับพอใช้ 18(58.07) ระดับดี 2(6.45)
หลังอบรม ระดับน้อย 6(19.35) ระดับพอใช้ 22(70.97) ระดับดี 3(9.68)
2.ตรวจตัวอย่างอาหารและเครื่องสำอาง จำนวน 13 ตัวอย่าง พบสารปนเปื้อนและสารอันตราย 5 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 38.46
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเพิ่มจำนวนแกนนำนักเรียนเฝ้าระวังความเสี่ยงด้านสุขภาพของตนเองและนักเรียนในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : จำนวนแกนนำนักเรียนเฝ้าระวังความเสี่ยงด้านสุขภาพของตนเองและนักเรียนในโรงเรียนเพิ่มขึ้น
10.00
45.00
2
เพื่อให้แกนนำนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจการดูแลสุขภาพและโภชนาการ
ตัวชี้วัด : ร้อยละแกนนำนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจการดูแลสุขภาพและโภชนาการ อยู่ในระดับดีเพิ่มขึ้น
50.00
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
45
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
45
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนแกนนำนักเรียนเฝ้าระวังความเสี่ยงด้านสุขภาพของตนเองและนักเรียนในโรงเรียน (2) เพื่อให้แกนนำนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจการดูแลสุขภาพและโภชนาการ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้อย.น้อยรอบรู้ใส่ใจสุขภาพ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอย.น้อยรอบรู้ ใส่ใจสุขภาพ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-3357-02-011
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสมศักดิ์ ปุรินทราภิบาล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอย.น้อยรอบรู้ ใส่ใจสุขภาพ ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายสมศักดิ์ ปุรินทราภิบาล
กรกฎาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-3357-02-011 เลขที่ข้อตกลง .................../2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอย.น้อยรอบรู้ ใส่ใจสุขภาพ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอย.น้อยรอบรู้ ใส่ใจสุขภาพ ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอย.น้อยรอบรู้ ใส่ใจสุขภาพ ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-3357-02-011 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กที่อยู่ในวัยเรียน ส่วนใหญ่มักมีพฤติกรรมในการเลือกซื้อ หรือใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีสีสันต้องตา หรือกำลังอยู่ในช่วงของการโฆษณา ตามสื่อประเภทต่างๆ โดยมิได้คำนึงถึงประโยชน์ อันตราย หรือความปลอดภัย สักเท่าไรพฤติกรรมดังกล่าวนี้อาจเกิดจาก หลายสาเหตุ ตัวอย่างเช่น วิถีการดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนไปจากเดิมเป็นวิถีชีวิตแบบรีบเร่ง และเอาตัวรอดมากขึ้น มีสื่อประเภทต่างๆ เข้ามามีบทบาทในสังคมปัจจุบัน เพิ่มมากขึ้นให้ผู้บริโภคอาจหลงเชื่อจนกระทั่งตัดสินใจเลือกซื้อใช้ผลิตภัณฑ์นั้นๆ ซึ่งต่างจากในอดีต ประชากรมักดำรงชีวิตแบบเอื้ออาทรอีกทั้งด้านการผลิต ยังคงใช้วัสดุจากธรรมชาติเป็นส่วนประกอบมากกว่า รวมถึงมีการเอารัดเอาเปรียบผู้บริโภคด้วยกลวิธีต่างๆ ของผู้ผลิตยังไม่มากเช่นปัจจุบัน นอกจากนี้กลุ่มเยาวชนที่อยู่ในวัยเรียนโดยเฉพาะผู้เรียน อายุระหว่าง 10 – 18 ปีถือว่าเป็นกลุ่มผู้บริโภคอีกกลุ่มหนึ่งที่มีความสำคัญ หากกลุ่มเยาวชนดังกล่าวไม่ได้รับความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ประเภทต่างๆ ซึ่งผู้ผลิตได้ผลิตออกมาเพื่อสนองความต้องการของผู้บริโภคอย่างหลากหลายมีทั้งผลิตภัณฑ์ที่ถูกต้องตามมาตรฐานที่กำหนด แต่ก็ยังคงมีผลิตภัณฑ์ที่ผู้ผลิตได้แอบอ้างสรรพคุณมีการโฆษณาชวนเชื่อเกินความเป็นจริง หรืออาจมีผลิตภัณฑ์ที่มีสารปนเปื้อนเป็นอันตราย ปะปนอยู่เป็นจำนวนมาก พร้อมกันนี้ควรให้ความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร และการอ่านดูข้อมูลโภชนาการจากฉลากผลิตภัณฑ์ควบคู่ไปด้วย หากเยาวชนกลุ่มดังกล่าวมีความรู้และมีทักษะในการเลือกซื้อใช้ผลิตภัณฑ์ประเภทต่างๆ จะทำให้สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันจนสามารถทำให้ปัญหาด้านสุขภาพหรือปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมต่างๆ ลดน้อยลงได้พร้อมทั้งให้ความรู้ให้คำปรึกษาแก่บุคคลในครอบครัว หรือบุคคลทั่วไปได้อย่างมั่นใจ ทางชมรมอสม.รพ.สต.บ้านต้นไทร จึงเกิดความสนใจที่จะแก้ปัญหาดังกล่าวจึงได้ดำเนินการจัดกิจกรรมสร้างและอบรมแกนนำอย.น้อย แก่นักเรียนชั้น ป.4-ป.5 ในโรงเรียนจำนวน 3 โรง ได้แก่ โรงเรียนวัดหัวหมอน โรงเรียนวัดบ่วงช้าง และโรงเรียนบ้านต้นไทร พร้อมทั้งขยายการจัดกิจกรรมต่างๆ ไปยังเครือข่ายผู้ปกครอง และชุมชนด้วย เพื่อช่วยในการแก้ปัญหาดังกล่าวข้างต้น โครงการอย.น้อย ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมอย่างหลากหลายเพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ และเกิดทักษะ ในการเลือกซื้อเลือกใช้อาหารยา และเครื่องสำอางที่เป็นประโยชน์ไม่ส่งผลเสียต่อสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม อีกประการหนึ่งเพื่อเป็นการส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนแกนนำ อย.น้อย ได้รู้จักการทำงานเป็นทีมการวางแผนในการปฏิบัติงานกล้า แสดงออกในการเผยแพร่ความรู้แก่ เพื่อนนักเรียน ผู้ปกครอง และประชาชน ทั่วไปอย่างมั่นใจ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มจำนวนแกนนำนักเรียนเฝ้าระวังความเสี่ยงด้านสุขภาพของตนเองและนักเรียนในโรงเรียน
- เพื่อให้แกนนำนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจการดูแลสุขภาพและโภชนาการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้อย.น้อยรอบรู้ใส่ใจสุขภาพ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 45 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.สร้างแกนนำอย.น้อยในโรงเรียน
2.นักเรียนมีสุขภาพดี สามารถดูแลสุขภาพตนเองและนักเรียนในโรงเรียนได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมให้ความรู้อย.น้อยรอบรู้ใส่ใจสุขภาพ |
||
วันที่ 30 พฤษภาคม 2568 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.สรุปผลการทำแบบสอบถามแกนนำอย.น้อย จำนวน 51 คน 2.ตรวจตัวอย่างอาหารและเครื่องสำอาง จำนวน 13 ตัวอย่าง พบสารปนเปื้อนและสารอันตราย 5 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 38.46
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มจำนวนแกนนำนักเรียนเฝ้าระวังความเสี่ยงด้านสุขภาพของตนเองและนักเรียนในโรงเรียน ตัวชี้วัด : จำนวนแกนนำนักเรียนเฝ้าระวังความเสี่ยงด้านสุขภาพของตนเองและนักเรียนในโรงเรียนเพิ่มขึ้น |
10.00 | 45.00 |
|
|
2 | เพื่อให้แกนนำนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจการดูแลสุขภาพและโภชนาการ ตัวชี้วัด : ร้อยละแกนนำนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจการดูแลสุขภาพและโภชนาการ อยู่ในระดับดีเพิ่มขึ้น |
50.00 | 80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 45 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 45 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนแกนนำนักเรียนเฝ้าระวังความเสี่ยงด้านสุขภาพของตนเองและนักเรียนในโรงเรียน (2) เพื่อให้แกนนำนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจการดูแลสุขภาพและโภชนาการ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้อย.น้อยรอบรู้ใส่ใจสุขภาพ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอย.น้อยรอบรู้ ใส่ใจสุขภาพ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-3357-02-011
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสมศักดิ์ ปุรินทราภิบาล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......