โครงการ เด็กวัยเรียน ยิ้มสดใส
ชื่อโครงการ | โครงการ เด็กวัยเรียน ยิ้มสดใส |
รหัสโครงการ | 68-L5275-01-004 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหูแร่ |
วันที่อนุมัติ | 24 มกราคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 43,292.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายสุกิจ เถาถวิล |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | - โรงเรียนบ้านนาแสน หมู่ที่ 6 ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวังสงขลา - โรงเรียนวัดหูแร่ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวังสงขลา - โรงเรียนอนุบาลเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ม.3 ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 207 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรคฟันผุและโรคเหงือกอักเสบเป็นปัญหาสำคัญทางทันตสุขภาพที่พบมากในเด็กนักเรียนประถมศึกษา โดยปัญหาทางทันตสุขภาพนั้น นอกจากเกิดผลเสียโดยตรงต่อสุขภาพช่องปากของเด็กแล้ว ยังมีผลกระทบทั้งต่อการเรียนและพัฒนาการด้านต่าง ๆ ของเด็กนักเรียน ซึ่งโรคฟันผุและโรคเหงือกอักเสบเป็นโรคที่สามารถป้องกันและสามารถทำได้อย่างมีประสิทธิภาพหากเริ่มส่งเสริมตั้งแต่วัยเด็ก การฝึกฝนให้นักเรียนมีนิสัยการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดี และการส่งเสริมป้องกันรวมทั้งการบำบัดรักษาในระยะแรกของการเป็นโรคจะช่วยป้องกันและควบคุมโรคในช่องปากของเด็กได้ดี จากผลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 8 พ.ศ. 2560 พบว่า ในกลุ่มเด็กวัยเรียนมีความชุกของโรคฟันผุ ร้อยละ 52 พบฟันผุเฉลี่ย 1.4 ซี่/คน พบเหงือกอักเสบ ร้อยละ 66.3 มีพฤติกรรมไม่เคยแปรงฟันหลังอาหารกลางวันร้อยละ 55.3 และบริโภคขนมกรุบกรอบทุกวัน ร้อยละ 32.6 ซึ่งถือว่าเป็นปัญหาที่ต้องได้รับการแก้ไข จากข้อมูลการตรวจสุขภาพช่องปากนักเรียนในปี 2566 ตามระบบเฝ้าระวังทันตสุขภาพในโรงเรียนประถมศึกษา เขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหูแร่ จำนวน 3 แห่ง มีนักเรียนทั้งหมด จำนวน 776คน พบว่ามีฟันแท้ผุ คิดเป็นร้อยละ 37.2 พบเหงือกอักเสบ ร้อยละ 30.5ซึ่งถือว่าเป็นปัญหาทันตสาธารณสุขในโรงเรียน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหูแร่ ได้เล็งเห็นความสำคัญถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากเด็กประถมศึกษาในโรงเรียน ให้นักเรียนมีความสามารถดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง และได้รับการรักษาโรคในช่องปากเพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนไม่มีฟันแท้ผุ มีสุขภาวะช่องปากที่ดี
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้เด็กนักเรียน ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก และส่งต่อมารับการรักษาที่จำเป็น
|
0.00 | |
2 | 2 .เพื่อให้เด็กนักเรียนฝึกทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากได้อย่างต่อเนื่อง
|
0.00 | |
3 | 3.เพื่อสร้างความตระหนักและเพิ่มศักยภาพการดูแลสุขภาพช่องปากของนักเรียนในโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง 3.นักเรียนในโรงเรียนเกิดความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากมากขึ้น |
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 43,292.00 | 0 | 0.00 | |
??/??/???? | 2. กิจกรรมให้บริการทันตสุขภาพในเด็กนักเรียน | 0 | 0.00 | - | ||
1 ก.พ. 68 - 30 เม.ย. 68 | 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลทันตสุขภาพในเด็กนักเรียน | 0 | 5,300.00 | - | ||
1 ก.พ. 68 - 30 เม.ย. 68 | 3. กิจกรรมติดตามหลังร่วมกิจกรรม | 0 | 37,792.00 | - | ||
1 มี.ค. 68 - 31 ส.ค. 68 | 4.กิจกรรมสรุปผลรายงานผลการดำเนินงาน | 0 | 200.00 | - |
1.เด็กนักเรียน มีความรู้ความเข้าใจ มีทัศนคติที่ดีและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง
2.เด็กนักเรียนสามารถตรวจสุขภาพช่องปากเบื้องต้นของตนเองได้
3.เด็กนักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก ได้รับคำแนะนำ และส่งต่อมารับการรักษาที่จำเป็นที่โรงพยาบาลได้
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 5 ก.พ. 2568 09:51 น.