กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข ตำบลท่าเรือ ปี ๒๕๖๘ ”
ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
นางนิตยา รอเกตุ




ชื่อโครงการ โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข ตำบลท่าเรือ ปี ๒๕๖๘

ที่อยู่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 8/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 มกราคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข ตำบลท่าเรือ ปี ๒๕๖๘ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข ตำบลท่าเรือ ปี ๒๕๖๘



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข ตำบลท่าเรือ ปี ๒๕๖๘ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 มกราคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,700.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ชมรมผู้สูงอายุ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ ๙ กันยายน 255๒ โดยการรวมตัวกัน ของกลุ่มผู้สูงอายุในเขต รพ.สต.ท่าเรือ และ รพ.สต.บ้านแป-ระใต้ ซึ่งมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้สูงอายุทั้งตำบล มาทำกิจกรรมสร้างเสริม สุขภาพร่วมกัน และเป็นการพัฒนาจิตใจให้ผู้สูงอายุมีความสดชื่นเบิกบาน ซึ่งแนวโน้มของผู้สูงอายุนับวันจะมีจำนวนมากขึ้น อันจะนำมาซึ่งภาวะเสี่ยงและปัญหาด้านสุขภาพโดยเฉพาะการเจ็บป่วยเรื้อรัง เนื่องจากวัยสูงอายุมีธรรมชาติ การเปลี่ยนแปลงในทางที่เสื่อมลงทั้งทางด้านร่างกายจิตใจและสังคม ทั้งนี้พบว่า ผู้สูงอายุมีสถิติการเกิดโรคมากกว่าวัย อื่นๆ ถึง 4 เท่า นอกจากนี้ยังพบว่าผู้สูงอายุที่มีอายุเกิน 65 ปี ประมาณ 4 ใน 5 คน จะมีโรคประจำตัวอย่างน้อย 1 โรค ส่วนปัญหาทางด้านจิตใจในผู้สูงอายุที่สำคัญ คือ ภาวะซึมเศร้าที่เกิดจากการสูญเสียบุคคลใกล้ชิด รวมทั้งการขาด รายได้การเปลี่ยนแปลงบทบาทหน้าที่ในสังคม จึงมีความจำเป็นที่ต้องเตรียมการในการดูแลผู้สูงอายุ ในด้านการ ส่งเสริมบทบาททางสังคมและการดูแลสุขภาพเพื่อรองรับการบริการของผู้สูงอายุตามสิทธิตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ.2546 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าเรือ ตระหนักถึงปัญหาด้านสุขภาพและการดูแลตนเองของผู้สูงอายุ ซึ่งมีจำนวนมากที่ ซึ่งการจัดกิจกรรมของชมรมผู้สูงอายุ (ชมรมท่าเรือสูงวัยใจเต็มร้อย) โดยการจัด ประชุมประจำเดือนของผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นการดำเนินการอย่างหนึ่งเพื่อให้ผู้สูงอายุได้รวมตัวทำกิจกรรม แลกเปลี่ยน เรียนรู้ร่วมกันอันเป็นแนวทางที่จะช่วยให้ผู้สูงอายุได้รับการพัฒนาความรู้ และอารมณ์ และจิตใจให้ผ่องแผ้วเบิกบาน สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาของ อบต.ท่าเรือ ด้านการพัฒนาสังคม คน และคุณภาพชีวิต และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติในยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ จากข้อมูลโปรแกรม JHCIS  จำนวนผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าเรือ และ รพ.สต.บ้านแป-ระใต้ จำนวน ๖ หมู่บ้าน มีจำนวนผู้สูงอายุในชมรม เป็นชาย ๓๕ คน หญิง ๘๙ คน รวม ๑๒๔ คน (ข้อมูลจากสมาชิกชมรมท่าเรือสูงวัยใจเกินร้อย เมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๗ ) การแพทย์แผนไทยจึงเป็นหนทางหนึ่งที่ช่วยเสริมสร้างสุขภาพให้กับคนในชุมชนได้แบบปฐมภูมิ มีความสอดคล้องกับวิถีชีวิตเองคนในสังคมไทย ประชาชนสามารถพึ่งพาตนเองได้มากขึ้นในปัจจุบัน คนไทยเริ่มหันมาดูแลสุขภาพกันมากขึ้น ซึ่งการดูแลสุขภาพมีมาตั้งแต่สมัยโบราณ โดยใช้สมุนไพรที่หาได้ไม่ยากในวิถีไทยๆ การใช้ยาดมไม่จำเป็นต้องเป็นผู้ใหญ่หรือว่าคนสูงอายุเท่านั้นที่ใช้ยาดมได้ ทุกเพศทุกวัยสามารถใช้ได้ เพราะว่าเป็นการทำให้ร่างกายผ่อนคลาย สดชื่นรวมทั้งบรรเทา อาการวิงเวียน ศีรษะ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้ และประสบการณ์อันเป็นประโยชน์ต่อสุขภาพทั้งทางร่างกายและจิตใจ
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในเรื่องสุขภาพ
  3. เพื่อประสานงานและเสริมสร้างบทบาทการมีส่วนร่วมของทุกส่วนของสังคมในการดูแลผู้สูงอายุ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 50
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. ผู้สูงอายุได้รับความรู้ และประสบการณ์อันเป็นประโยชน์ต่อสุขภาพทั้งทางร่างกายและจิตใจ ๒. ผู้สูงอายุเข้าใจสถานภาพของตนเอง สามารถปรับตัวเข้ากับสังคมและมีสัมพันธภาพที่ดีต่อผู้สูงอายุ ด้วยกันในชุมชน ๓. ผู้สูงอายุในชุมชนได้รับการตรวจคัดกรองด้านสุขภาพเพื่อเฝ้าระวังโรคและได้รับคำแนะนำในการปฏิบัติ   ตัวและมีสุขภาพกายและจิตใจที่ดีขึ้น มาเข้าร่วมกิจกรรมในคลินิกผู้สูงอายุมากขึ้น


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้ และประสบการณ์อันเป็นประโยชน์ต่อสุขภาพทั้งทางร่างกายและจิตใจ
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ผู้สูงอายุได้รับความรู้ และประสบการณ์อันเป็นประโยชน์ต่อสุขภาพทั้งทางร่างกายและจิตใจ

     

    2 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในเรื่องสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70ผู้สูงอายุได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในเรื่องสุขภาพ

     

    3 เพื่อประสานงานและเสริมสร้างบทบาทการมีส่วนร่วมของทุกส่วนของสังคมในการดูแลผู้สูงอายุ
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 มีการประสานงานและเสริมสร้างบทบาทการมีส่วนร่วมของทุกส่วนของสังคมในการดูแลผู้สูงอายุ

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 50
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้ และประสบการณ์อันเป็นประโยชน์ต่อสุขภาพทั้งทางร่างกายและจิตใจ (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในเรื่องสุขภาพ (3) เพื่อประสานงานและเสริมสร้างบทบาทการมีส่วนร่วมของทุกส่วนของสังคมในการดูแลผู้สูงอายุ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข ตำบลท่าเรือ ปี ๒๕๖๘ จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางนิตยา รอเกตุ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด