โครงการคัดกรอง และค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการคัดกรอง และค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางนิตยา รอเกตุ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการคัดกรอง และค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 9/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 มกราคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคัดกรอง และค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรอง และค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคัดกรอง และค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 มกราคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,250.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
วัณโรคเป็นโรคติดต่อเรื้อรัง ทำให้มีการอักเสบในปอด ซึ่งในผู้ใหญ่มักจะพบส่วนใหญ่เป็นที่ปอด ในเด็กอาจเป็นที่อวัยวะอื่นร่วมด้วย เช่น ต่อมน้ำเหลือง เยื่อหุ้มสมอง กระดูก สาเหตุเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Mycobacterium tuberculosis การติดต่อมักจะได้รับเชื้อจากผู้ป่วยที่เป็นวัณโรคระยะแพร่เชื้อ โดยเชื้อจะออกมากับการไอ จาม ทำให้เชื้อกระจายในอากาศ ในห้องที่ทึบอับแสง เชื้อวัณโรคอาจมีชีวิตอยู่ได้ถึง 1 สัปดาห์ ถ้าเสมหะที่มีเชื้อลงสู่พื้นที่ไม่มีแสงแดดส่อง เชื้ออาจอยู่ได้ในเสมหะแห้งได้นานถึง 6 เดือน เชื้อจะกระจายอยู่ในอากาศ และเข้าสู่ร่างกายทางการหายใจเอาเชื้อเข้าไป ผู้ป่วยที่เป็นวัณโรคระยะแสดงอาการหรือระยะกำเริบอาจมีอาการไอเรื้อรังยาวนานถึง 3 สัปดาห์หรือมากกว่านั้น ไอแล้วเสมหะมีเลือดปนออกมา มีอาการเจ็บหน้าอก ขณะหายใจหรือไอ มีอาการเหนื่อยง่ายกว่าปกติ มีน้ำหนักลดแบบไม่ทราบสาเหตุ มีอาการอ่อนเพลีย มีไข้ หรือมีเหงื่อออกในเวลากลางคืน รู้สึกหนาวสั่น รู้สึกไม่อยากอาหาร โดยทั่วไปแล้ว วัณโรคอาจเป็นกันได้ตามอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายนอกเหนือจากปอดก็ได้ เช่น ไต กระดูกสันหลัง หรือสมอง โดยจะมีอาการแตกต่างกันไปตามบริเวณร่างกายที่เกิด เช่น ผู้ป่วยอาจมีอาการปวดหลังหากวัณโรคลงกระดูกสันหลัง และผู้ป่วยอาจมีเลือดในปัสสาวะหากวัณโรคลงไต
วัณโรคเป็นปัญหาสาธารณสุข ที่สำคัญของประเทศไทยมาเป็นเวลานาน ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายทางสังคมและเศรษฐกิจอย่างมาก อุบัติการณ์ของวัณโรคเคยลดลงอย่างช้าๆในอดีต แต่ในระยะหลังนี้กลับเพิ่มขึ้น เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคเอดส์และการดื้อยา แม้ว่าประเทศไทยนำกลยุทธ์ DOTS มาใช้ในการดำเนินงานควบคุมป้องกันวัณโรค แต่อัตราผู้ป่วยวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อยังอยู่ และประกอบกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคเอดส์ ทำให้ปัญหาวัณโรคทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น ในแต่ละปีมีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ขึ้นทะเบียนรายใหม่ ประมาณครึ่งหนึ่งเป็นผู้ป่วยวัณโรคปอดเสมหะบวกที่สามารถแพร่เชื้อได้ และมีแนวโน้มของการดื้อยารักษาวัณโรคเพิ่มสูงขึ้น การดำเนินงานที่สำคัญคือค้นหาคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในชุมชน ซึ่งประกอบด้วย 7 กลุ่มเสี่ยง ได้แก่ ผู้สัมผัสร่วมบ้าน/ผู้สัมผัสใกล้ชิด ผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ ผู้ป่วยเอดส์ แรงงานต่างด้าว ผู้ต้องขัง และบุคลากรสาธารณสุข ต้องได้รับการคัดกรองค้นหาโรควัณโรคต่อไป
สถานการณ์วัณโรครายใหม่ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าเรือ พบว่าอัตราการค้นหาผู้ป่วย ย้อนหลัง 3 ปี (2565 – 2567) พบผู้ป่วยวัณโรคจำนวน 4, 3 และ 4 ราย ตามลำดับ คิดเป็นอัตราป่วย 131.19, 98.39 และ 131.19 ต่อแสนประชากร ซึ่งยังน้อยกว่าเกณฑ์ของประเทศ (150 ต่อ แสนประชากร) ปีงบประมาณ 2567 จำนวนผู้ป่วย 4 ราย รักษาครบ/หาย 2 รายคิดเป็นร้อยละ 50 (เป้าหมายร้อยละ 90 )ยังไม่ผ่านเกณฑ์ เนื่องจากกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองยังไม่ครอบคลุมทำให้ผู้ป่วยรายใหม่ ยังไม่ถูกค้นพบและเชื้อโรคแพร่กระจายไปในชุมชนได้อย่างรวดเร็ว ดังนั้นจึงต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน เพื่อที่จะลดปัญหาของการเกิดโรควัณโรคและภัยสุขภาพได้ การค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงจึงมีความสำคัญและจำเป็นในการลดการแพร่กระจายเชื้อโรค เนื่องจากหากสามารถนำผู้ป่วยเข้าสู่ระบบการรักษาได้เร็วและได้รับการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่องจากเจ้าหน้าที่ จะทำให้เกิดผลสำเร็จในการรักษา เพื่อทำให้ผู้ที่มีอาการสงสัยวัณโรคได้เข้ารับการตรวจวินิจฉัยและรักษาในระยะเริ่มแรก ซึ่งเป็นกาตัดวงจรการแพร่กระจายและลดอัตราการเสียชีวิตจากการป่วยด้วยวัณโรค
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตำบลท่าเรือ เพิ่มกระบวนการคัดกรอง ค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในชุมชนจะสามารถสร้างความรู้ความเข้าใจให้ประชาชนเข้าใจโรควัณโรคมากขึ้นและคาดหวังว่าจะมีส่วนช่วยเพิ่มอัตราการค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในชุมชน จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองค้นหาผู้ป่วยวัณโรคเชิงรุก ปี 2568 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในชุมชน
- เพื่อค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในชุมชน
- เพื่อให้ ประชาชน อสม. และกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรควัณโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้แก่ ผู้สัมผัสร่วมบ้าน/ผู้สัมผัสใกล้ชิด ผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ป่วยเอดส์ แรงงานต่างด้าว ผู้ต้องขัง และบุคลากรสาธารณสุข ได้รับการคัดกรองวัณโรค และส่งต่อเพื่อ X- ray ปอด
- ผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในชุมชนได้รับการตรวจวินิจฉัยและส่งต่อรับการรักษา
- ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าในเรื่องวัณโรค
- ประชาชนให้ความสำคัญในการป้องกันและลดการแพร่กระจายของวัณโรคในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้แก่ ผู้สัมผัสร่วมบ้าน/ผู้สัมผัสใกล้ชิด ผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ป่วยเอดส์ แรงงานต่างด้าว ผู้ต้องขัง และบุคลากรสาธารณสุขได้รับการคัดกรอง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2
เพื่อค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้แก่ ผู้สัมผัสร่วมบ้าน/ผู้สัมผัสใกล้ชิด ผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ป่วยเอดส์ แรงงานต่างด้าว ผู้ต้องขัง และบุคลากรสาธารณสุขได้รับการคัดกรอง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3
เพื่อให้ ประชาชน อสม. และกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรควัณโรค
ตัวชี้วัด : 2. ประชาชน อสม. และกลุ่มเสี่ยง ได้เข้าร่วมการอบรมเกี่ยวกับเรื่องโรควัณโรค ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
110
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในชุมชน (2) เพื่อค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในชุมชน (3) เพื่อให้ ประชาชน อสม. และกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรควัณโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการคัดกรอง และค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางนิตยา รอเกตุ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการคัดกรอง และค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางนิตยา รอเกตุ
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 9/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 มกราคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคัดกรอง และค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรอง และค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคัดกรอง และค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 มกราคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,250.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
วัณโรคเป็นโรคติดต่อเรื้อรัง ทำให้มีการอักเสบในปอด ซึ่งในผู้ใหญ่มักจะพบส่วนใหญ่เป็นที่ปอด ในเด็กอาจเป็นที่อวัยวะอื่นร่วมด้วย เช่น ต่อมน้ำเหลือง เยื่อหุ้มสมอง กระดูก สาเหตุเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Mycobacterium tuberculosis การติดต่อมักจะได้รับเชื้อจากผู้ป่วยที่เป็นวัณโรคระยะแพร่เชื้อ โดยเชื้อจะออกมากับการไอ จาม ทำให้เชื้อกระจายในอากาศ ในห้องที่ทึบอับแสง เชื้อวัณโรคอาจมีชีวิตอยู่ได้ถึง 1 สัปดาห์ ถ้าเสมหะที่มีเชื้อลงสู่พื้นที่ไม่มีแสงแดดส่อง เชื้ออาจอยู่ได้ในเสมหะแห้งได้นานถึง 6 เดือน เชื้อจะกระจายอยู่ในอากาศ และเข้าสู่ร่างกายทางการหายใจเอาเชื้อเข้าไป ผู้ป่วยที่เป็นวัณโรคระยะแสดงอาการหรือระยะกำเริบอาจมีอาการไอเรื้อรังยาวนานถึง 3 สัปดาห์หรือมากกว่านั้น ไอแล้วเสมหะมีเลือดปนออกมา มีอาการเจ็บหน้าอก ขณะหายใจหรือไอ มีอาการเหนื่อยง่ายกว่าปกติ มีน้ำหนักลดแบบไม่ทราบสาเหตุ มีอาการอ่อนเพลีย มีไข้ หรือมีเหงื่อออกในเวลากลางคืน รู้สึกหนาวสั่น รู้สึกไม่อยากอาหาร โดยทั่วไปแล้ว วัณโรคอาจเป็นกันได้ตามอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายนอกเหนือจากปอดก็ได้ เช่น ไต กระดูกสันหลัง หรือสมอง โดยจะมีอาการแตกต่างกันไปตามบริเวณร่างกายที่เกิด เช่น ผู้ป่วยอาจมีอาการปวดหลังหากวัณโรคลงกระดูกสันหลัง และผู้ป่วยอาจมีเลือดในปัสสาวะหากวัณโรคลงไต
วัณโรคเป็นปัญหาสาธารณสุข ที่สำคัญของประเทศไทยมาเป็นเวลานาน ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายทางสังคมและเศรษฐกิจอย่างมาก อุบัติการณ์ของวัณโรคเคยลดลงอย่างช้าๆในอดีต แต่ในระยะหลังนี้กลับเพิ่มขึ้น เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคเอดส์และการดื้อยา แม้ว่าประเทศไทยนำกลยุทธ์ DOTS มาใช้ในการดำเนินงานควบคุมป้องกันวัณโรค แต่อัตราผู้ป่วยวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อยังอยู่ และประกอบกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคเอดส์ ทำให้ปัญหาวัณโรคทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น ในแต่ละปีมีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ขึ้นทะเบียนรายใหม่ ประมาณครึ่งหนึ่งเป็นผู้ป่วยวัณโรคปอดเสมหะบวกที่สามารถแพร่เชื้อได้ และมีแนวโน้มของการดื้อยารักษาวัณโรคเพิ่มสูงขึ้น การดำเนินงานที่สำคัญคือค้นหาคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในชุมชน ซึ่งประกอบด้วย 7 กลุ่มเสี่ยง ได้แก่ ผู้สัมผัสร่วมบ้าน/ผู้สัมผัสใกล้ชิด ผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ ผู้ป่วยเอดส์ แรงงานต่างด้าว ผู้ต้องขัง และบุคลากรสาธารณสุข ต้องได้รับการคัดกรองค้นหาโรควัณโรคต่อไป
สถานการณ์วัณโรครายใหม่ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าเรือ พบว่าอัตราการค้นหาผู้ป่วย ย้อนหลัง 3 ปี (2565 – 2567) พบผู้ป่วยวัณโรคจำนวน 4, 3 และ 4 ราย ตามลำดับ คิดเป็นอัตราป่วย 131.19, 98.39 และ 131.19 ต่อแสนประชากร ซึ่งยังน้อยกว่าเกณฑ์ของประเทศ (150 ต่อ แสนประชากร) ปีงบประมาณ 2567 จำนวนผู้ป่วย 4 ราย รักษาครบ/หาย 2 รายคิดเป็นร้อยละ 50 (เป้าหมายร้อยละ 90 )ยังไม่ผ่านเกณฑ์ เนื่องจากกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองยังไม่ครอบคลุมทำให้ผู้ป่วยรายใหม่ ยังไม่ถูกค้นพบและเชื้อโรคแพร่กระจายไปในชุมชนได้อย่างรวดเร็ว ดังนั้นจึงต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน เพื่อที่จะลดปัญหาของการเกิดโรควัณโรคและภัยสุขภาพได้ การค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงจึงมีความสำคัญและจำเป็นในการลดการแพร่กระจายเชื้อโรค เนื่องจากหากสามารถนำผู้ป่วยเข้าสู่ระบบการรักษาได้เร็วและได้รับการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่องจากเจ้าหน้าที่ จะทำให้เกิดผลสำเร็จในการรักษา เพื่อทำให้ผู้ที่มีอาการสงสัยวัณโรคได้เข้ารับการตรวจวินิจฉัยและรักษาในระยะเริ่มแรก ซึ่งเป็นกาตัดวงจรการแพร่กระจายและลดอัตราการเสียชีวิตจากการป่วยด้วยวัณโรค
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตำบลท่าเรือ เพิ่มกระบวนการคัดกรอง ค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในชุมชนจะสามารถสร้างความรู้ความเข้าใจให้ประชาชนเข้าใจโรควัณโรคมากขึ้นและคาดหวังว่าจะมีส่วนช่วยเพิ่มอัตราการค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในชุมชน จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองค้นหาผู้ป่วยวัณโรคเชิงรุก ปี 2568 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในชุมชน
- เพื่อค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในชุมชน
- เพื่อให้ ประชาชน อสม. และกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรควัณโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 60 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้แก่ ผู้สัมผัสร่วมบ้าน/ผู้สัมผัสใกล้ชิด ผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ป่วยเอดส์ แรงงานต่างด้าว ผู้ต้องขัง และบุคลากรสาธารณสุข ได้รับการคัดกรองวัณโรค และส่งต่อเพื่อ X- ray ปอด
- ผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในชุมชนได้รับการตรวจวินิจฉัยและส่งต่อรับการรักษา
- ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าในเรื่องวัณโรค
- ประชาชนให้ความสำคัญในการป้องกันและลดการแพร่กระจายของวัณโรคในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในชุมชน ตัวชี้วัด : 1. ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้แก่ ผู้สัมผัสร่วมบ้าน/ผู้สัมผัสใกล้ชิด ผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ป่วยเอดส์ แรงงานต่างด้าว ผู้ต้องขัง และบุคลากรสาธารณสุขได้รับการคัดกรอง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
|
|||
2 | เพื่อค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในชุมชน ตัวชี้วัด : 1. ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้แก่ ผู้สัมผัสร่วมบ้าน/ผู้สัมผัสใกล้ชิด ผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ป่วยเอดส์ แรงงานต่างด้าว ผู้ต้องขัง และบุคลากรสาธารณสุขได้รับการคัดกรอง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
|
|||
3 | เพื่อให้ ประชาชน อสม. และกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรควัณโรค ตัวชี้วัด : 2. ประชาชน อสม. และกลุ่มเสี่ยง ได้เข้าร่วมการอบรมเกี่ยวกับเรื่องโรควัณโรค ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 110 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 60 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในชุมชน (2) เพื่อค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในชุมชน (3) เพื่อให้ ประชาชน อสม. และกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรควัณโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการคัดกรอง และค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางนิตยา รอเกตุ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......