โภชนาการน่ารู้ สู่สุขภาพดี ห่างไกลภาวะทุพโภชนาการ โรงเรียนบ้านนาข่า
ชื่อโครงการ | โภชนาการน่ารู้ สู่สุขภาพดี ห่างไกลภาวะทุพโภชนาการ โรงเรียนบ้านนาข่า |
รหัสโครงการ | 68-L5310-2-5 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงเรียบ้านนาข่า |
วันที่อนุมัติ | 5 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 5 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 15,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวนริณี หมาดเหยด |
พี่เลี้ยงโครงการ | นางสาวมุศิรา สอเหลบ |
พื้นที่ดำเนินการ | โรงเรียบ้านนาข่า |
ละติจูด-ลองจิจูด | 17.545618,102.840535place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 5 มี.ค. 2568 | 30 ก.ย. 2568 | 15,000.00 | |||
รวมงบประมาณ | 15,000.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 65 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โภชนาการที่ดีในทุกกลุ่มวัยเป็นรากฐานสำคัญของการมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีตลอดชีวิต ทั้งนี้เด็กวัยเรียน เป็นช่วงที่มีความสำคัญอีกช่วงหนึ่ง เนื่องจากมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว จึงเป็นโอกาสที่จะส่งเสริมให้เด็กมีการเจริญเติบโตอย่างเต็มศักยภาพทั้งด้านสมองและร่างกาย แต่หากปล่อยให้เด็กขาดสารอาหาร จะส่งผลให้การเจริญเติบโตไม่ดี สติปัญญาและการเรียนต่ำรวมทั้งการสร้างภูมิต้านทานโรค เป็นผลให้เจ็บป่วยบ่อยหรือเป็นนาน ส่งผลให้การศึกษามีประสิทธิภาพต่ำรวมทั้งมีความเสี่ยงต่อการโรคเรื้อรัง และถ่ายทอดการขาดสารอาหารไปยังรุ่นลูกสู่รุ่นหลาน เป็นวงจรเช่นนี้ต่อไปเรื่อยๆ ดังนั้น โรงเรียนบ้านนาข่า ตระหนักและให้ความสำคัญของการดูแลสุขภาพของนักเรียนจึงได้ทำโครงการโภชนาการน่ารู้ สู้สุขภาพดีห่างไกลภาวะทุพโภชนาการ ขึ้นเพื่อให้นักเรียนดูแลสุขภาพร่างกายได้ถูกต้อง ตลอดจนนักเรียนสามารถนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ถึงภาวะโภชนาการเพิ่มขึ้น นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 |
0.00 | |
2 | เพื่อให้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการ/ภาวะน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ของนักเรียนลดลง นักเรียนที่มีภาวะใกล้เคียงทุพโภชนาการ/ภาวะน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ ลดลง ร้อยละ 30 |
0.00 | |
3 | เพื่อเฝ้าระวัง และติดตามภาวะโภชนาการในนักเรียนที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ นักเรียนที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต่อสุขภาพ |
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 15,000.00 | 0 | 0.00 | |
5 ก.พ. 68 - 30 ก.ย. 68 | อบรมภาวะทุพโภชนาการ/น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ | 0 | 9,100.00 | - | ||
1 เม.ย. 68 - 30 มิ.ย. 68 | ติดตามภาวะโภชนาการเด็ก 7-12 ปี ครั้งที่ 1ไตรมาสที่ 3 (เมษายน - มิถุนายน ) | 0 | 5,900.00 | - | ||
1 ก.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 | ติดตามภาวะโภชนาการเด็ก 7-12 ปี ครั้งที่ 2ไตรมาสที่ 4 (กรกฎาคม -กันยายน) | 0 | 0.00 | - |
- นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักเกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการ
- ภาวะทุพโภชนาการ/ภาวะน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ของนักเรียนลดลง
- มีการเฝ้าระวัง และติดตามภาวะโภชนาการในนักเรียนที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 5 ก.พ. 2568 00:00 น.