กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการลดพฤติกรรมเสี่ยงลดโรคเรื้อรัง ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
นางสุธิตา ลารีนู




ชื่อโครงการ โครงการลดพฤติกรรมเสี่ยงลดโรคเรื้อรัง ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 16/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 มกราคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลดพฤติกรรมเสี่ยงลดโรคเรื้อรัง ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลดพฤติกรรมเสี่ยงลดโรคเรื้อรัง ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลดพฤติกรรมเสี่ยงลดโรคเรื้อรัง ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 มกราคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,800.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรค NCDs หรือโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นปัญหาสุขภาพอันดับหนึ่งของประเทศไทย และเป็นสาเหตุของการ เสียชีวิตมากกว่าร้อยละ 70 ของการเสียชีวิตทั้งหมด ซึ่งกลุ่มโรคไม่ติดต่อเป็นโรคที่เกิดจากนิสัยหรือพฤติกรรมการดำเนินชีวิตของเรา หากไม่ได้รับการ ดูแลรักษาอย่างถูกต้องและทันเวลาจะส่งผลกระทบอย่างมากต่อการดำเนินชีวิตของผู้ป่วยและคนรอบข้าง
        การมีสุขภาพที่ดีเป็นสิ่งที่ทุกคนพึงปรารถนา ดังนั้นประชาชนจะต้องรู้จักการดูแลสุขภาพของตนเอง เพื่อให้มีสุขภาพที่แข็งแรงอยู่เสมอ เพราะโรคบางโรคสามารถป้องกันได้โดยการออกกำลังกาย ดีกว่าการรอให้เกิดการเจ็บป่วยแล้วมารับรักษา จะสิ้นเปลืองทรัพยากรและงบประมาณในการดูแลรักษาจำนวนมาก การที่คนเรามีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันโรคที่ดี บุคลากรสาธารณสุขมีบทบาทในการส่งเสริมสุขภาพประชาชนในพื้นที่ ดังนั้นบุคลากรสาธารณสุขควรมีสุขภาพที่ดีเป็นแบบอย่างแก่ประชาชาชน ด้วยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในด้านต่างๆที่มีความทันสมัย สะดวกสบายมากขึ้น ทำให้วิถีชีวิตของคนไทยในปัจจุบันเปลี่ยนไปประชาชนมีการออกกำลังกายน้อยลง มีผลทำให้ร่างกายอ่อนแอ คนไทยมีแนวโน้มการเจ็บป่วยและเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อมากขึ้น เช่น โรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด เกิดจากการมีพฤติกรรมเสี่ยงร่วมที่ไม่ถูกต้อง ได้แก่ การขาดการออกกำลังกายที่ถูกต้อง การเลือกรับประทานอาหารที่ที่มันจัด เค็มจัด หวานจัด และการประทานผักและผลไม่เพียงพอ มีความเครียด มีการสูบบุหรี่และการดื่มสุรา เป็นต้น
          สถานการณ์โรคของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าเรือ พบว่า ปี 2567 ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนจำนวน 315 ราย และมารับการรักษาต่อเนื่อง จำนวน 169 ราย และผู้ป่วยเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนจำนวน 116 ราย และมารับการรักษาต่อเนื่อง จำนวน 83 ราย
          ดังนั้น จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องรณรงค์และส่งเสริมให้ประชาชนมีการออกกำลังกาย เลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และปลอดสารพิษ กระตุ้นให้เห็นความสำคัญในการออกกำลังกาย เลือกรับประทานอาหาร และเป็นการสร้างพฤติกรรมการออกกำลังกายให้เป็นพฤติกรรมเคยชิน และเป็นการสร้างนิสัยรักการออกกำลังกาย เพื่อให้การออกกำลังกาย และการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์เป็นไปอย่างสม่ำเสมอและยั่งยืน และส่งเสริมให้ประชาชนปลูกผักปลอดสารเคมีเพื่อรับประทาน ส่งผลให้ประชาชนมีการสร้างสุขภาพที่ดี อาสาสมัครสาธารณสุข รพ.สต.ท่าเรือ จึงได้จัดทำโครงการลดพฤติกรรมเสี่ยงลดโรคเรื้อรัง ตำบลท่าเรือ
อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2568

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3อ2ส
  2. เพื่อส่งเสริมและกระตุ้นให้ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเห็นความสำคัญในการออกกำลังกาย และการเลือกรับประทานอาหาร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดีขึ้น มีการออกกำลังกาย อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วันๆละ 30 - 60 นาที
    2. มีชมรมออกกำลังกายและมีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
    3. ผู้ป่วยต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมีความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองอย่างเหมาะสม

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3อ2ส
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3อ2ส

     

    2 เพื่อส่งเสริมและกระตุ้นให้ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเห็นความสำคัญในการออกกำลังกาย และการเลือกรับประทานอาหาร
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ส่งเสริมและกระตุ้นให้ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเห็นความสำคัญในการออกกำลังกาย และการเลือกรับประทานอาหาร

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3อ2ส (2) เพื่อส่งเสริมและกระตุ้นให้ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเห็นความสำคัญในการออกกำลังกาย และการเลือกรับประทานอาหาร

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการลดพฤติกรรมเสี่ยงลดโรคเรื้อรัง ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสุธิตา ลารีนู )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด