กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมเด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลลิปะสะโง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางสาวอามีเนาะ ยีเจ๊ะอาแว




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมเด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ ปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลลิปะสะโง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L3071-1-1 เลขที่ข้อตกลง 3/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมเด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลิปะสะโง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลิปะสะโง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมเด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ ปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมเด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลิปะสะโง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3071-1-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลิปะสะโง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสถานการณ์เกี่ยวกับโรคระบาดที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนยังคงเกิดขึ้นเป็นระยะ ซึ่งประเทศไทยมีการส่งเสริมการฉีดวัคซีนเพื่อป้องกันโรคระบาดดังนี้ โรคคอตีบ โรคบาดทะยัก โรคไอกรน โรคไวรัสตับอักเสบบี โรคโปลิโอ โรคติดเชื้อไวรัสโรต้า โรคไข้สมองอักเสบ โรคหัด โรคคางทูม และโรคหัดเยอรมัน จากข้อมูลของสำนักระบาดวิทยาพบว่า ปี 2567 พบผู้ป่วยโรคหัดและไอกรน ในพื้นที่ 4 จังหวัดชายแดนในภาคใต้ของประเทศไทยและเริ่มมีการรายงานเป็นกลุ่มก้อนในบางจังหวัด โดยแนวโน้มผู้ป่วยเพิ่มสูงขึ้นตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์จนถึงปัจจุบัน โดยผู้ป่วยส่วนใหญ่ร้อยละ 90.76 ไม่เคยได้รับวัคซีนหรือไม่ทราบประวัติวัคซีน อัตราป่วยด้วยที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนสูงสุดได้แก่ โรคหัดในกลุ่มอายุต่ำกว่า 5 ปี มากที่สุด 28.64 ต่อแสนประชากร มีการรายงานผู้ป่วยยืนยันหัดใน 17 จังหวัด โดยจังหวัดปัตตานีมีอัตราป่วยสูงสุด 94.16 ต่อแสนประชากร เสียชีวิต 3 ราย ผู้ป่วยส่วนใหญ่ร้อยละ 90.76 ไม่ทราบหรือไม่แน่ใจในการรับวัคซีน และไม่เคยได้รับวัคซีนมาก่อน จังหวัดที่มีการระบาดสูงสุดพบมีความครอบคลุมของวัคซีนต่ำ MMR1 ร้อยละ 46.44 และ MMR2 ร้อยละ 38.98 นอกจากนี้จากการทบทวนข้อมูลความครอบคลุมของวัคซีนหัด หัดเยอรมัน และคางทูม (MMR) จากฐานข้อมูลHDC พบว่าประเทศไทยมีจังหวัดที่มีความครอบคลุมของวัคซีน MMR2 ยังไม่ได้ตามเกณฑ์
ตำบลลิปะสะโง พบรายงานการป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนในปี 2567 ได้แก่ โรคหัด มีจำนวนผู้ป่วย 20 ราย คิดเป็น 6.05 ต่อพันประชากร รองลงมาพบผู้ป่วยด้วนโรคไอกรน จำนวน 8 ราย คิดเป็น 2.42 ต่อพันประชากร จากอัตราการได้วัคซีนในพื้นที่มีความครอบคลุมต่ำกว่าเกณฑ์ส่งผลให้เกิดโรคระบาดได้ง่าย นอกจากนี้ยังพบโรคอื่นๆประปราย เช่น ไข้หวัดใหญ่ เป็นต้น ทั้งนี้โรคต่างๆ ดังกล่าวเป็นโรคระบาดที่ส่งกระทบและภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงต่อร่างกาย หากไม่ได้รับการรักษาที่ทันท่วงทีอาจจะส่งผลกระทบต่อชีวิตได้ จากการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลิปะสะโง ในรอบปี 2567 ที่ผ่านมาพบว่าในกลุ่มเด็ก 0-5 ปีมีเด็กทั้งสิ้นจำนวน 208 คน เด็กที่อายุครบ 1 ปีบริบูรณ์ได้รับวัคซีนคิดเป็นร้อยละ 68.00 เด็กที่อายุครบ 2 ปีบริบูรณ์ได้รับวัคซีนคิดเป็นร้อยละ 53.33  เด็กที่อายุครบ 3 ปีบริบูรณ์ได้รับวัคซีนคิดเป็นร้อยละ 43.90 และเด็กที่อายุครบ 5 ปีบริบูรณ์ได้รับวัคซีนคิดเป็นร้อยละ50.00 จะเห็นได้ว่าความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนยังต่ำกว่าเกณฑ์ตัวชี้วัดร้อยละ 90 โดยสาเหตุเกิดจากการหลายปัจจัย ทั้งผู้ปกครองขาดความรู้ ทัศนคติในทางลบเกี่ยวกับวัคซีน และความเชื่อทางศาสนา สภาพสังคมเปลี่ยนไปผู้ปกครองฝากเด็กกับผู้สูงอายุ ทำให้ไม่มีใครพามาฉีดวัคซีนเด็กป่วยบ่อยทำให้การได้รับวัคซีนล่าช้าซึ่งโรคเหล่านี้สามารถป้องกันได้ด้วยการฉีดวัคซีน
จากข้อมูลข้างต้นเกณฑ์ในการประเมินทั้งหมดกลุ่มเป้าหมายเด็กอายุ 0-5 ปี จะต้องผ่านเกณฑ์การได้รับวัคซีนร้อยละ90 ซึ่งตำบลลิปะสะโง ได้จัดกลุ่มเป้าหมายเด็ก 0-5 ปี จำนวน 3 กลุ่ม กลุ่มฉีดปกติ กลุ่มบ่ายเบี่ยง กลุ่มปฏิเสธ สำหรับกลุ่มบ่ายเบี่ยงและกลุ่มปฏิเสธ ต้องรีบดำเนินการหรือหาแนวทางแก้ไขปัญหา พื้นที่ตำบลลิปะสะโง อาจมีแนวโน้มของการเกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ดังนั้นทางรพ.สต.ลิปะสะโง ได้เห็นถึงความสำคัญของสุขภาพเด็กด้านการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค จึงได้จัดทำโครงการดังกล่าวเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพเด็กและการเข้าถึงบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันต่อโรคระบาดในชุมชนให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชาสัมพันธ์โครงการ
  2. ประชุมชี้แจงกิจกรรมโครงการให้กับอาสาสมัครสาธารณสุขและแกนนำชุมชน
  3. อบรมให้ความรู้ผู้ปกครองกลุ่มเป้าหมายที่บ่ายเบี่ยงและฉีดล่าช้า
  4. ติดตามกลุ่มเป้าหมายให้มารับบริการวัคซีนตามนัดและติดตามอาการหลังฉีดวัคซีน
  5. เกียรติบัตรให้กับกลุ่มเป้าหมายที่มารับวัคซีนครบตามเกณฑ์ช่วงอายุ
  6. อบรมให้ความรู้ผู้ปกครองกลุ่มเป้าหมายที่บ่ายเบี่ยงและฉีดล่าช้า
  7. ติดตามกลุ่มเป้าหมายให้มารับบริการวัคซีนตามนัดและติดตามอาการหลังฉีดวัคซีน
  8. ค่าเกียรติบัตรพร้อมกรอบ จำนวน 20 คน x 150 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
  9. ประชุมชี้แจงกิจกรรมโครงการให้กับอาสาสมัครสาธารณสุขและแกนนำชุมชน
  10. ประชาสัมพันธ์โครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 75
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ร้อยละ 80 ผู้ปกครองเด็กกลุ่มบ่ายเบี่ยงมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค 2.ร้อยละ 70 เด็ก 0 – 5 ปีได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ 3.ร้อยละ 2 ของผู้ปกครองที่ปฏิเสธเปลี่ยนความทัศนคติในการพาบุตรมารับวัคซีน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 75
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 75
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์โครงการ (2) ประชุมชี้แจงกิจกรรมโครงการให้กับอาสาสมัครสาธารณสุขและแกนนำชุมชน (3) อบรมให้ความรู้ผู้ปกครองกลุ่มเป้าหมายที่บ่ายเบี่ยงและฉีดล่าช้า (4) ติดตามกลุ่มเป้าหมายให้มารับบริการวัคซีนตามนัดและติดตามอาการหลังฉีดวัคซีน (5) เกียรติบัตรให้กับกลุ่มเป้าหมายที่มารับวัคซีนครบตามเกณฑ์ช่วงอายุ (6) อบรมให้ความรู้ผู้ปกครองกลุ่มเป้าหมายที่บ่ายเบี่ยงและฉีดล่าช้า (7) ติดตามกลุ่มเป้าหมายให้มารับบริการวัคซีนตามนัดและติดตามอาการหลังฉีดวัคซีน (8) ค่าเกียรติบัตรพร้อมกรอบ  จำนวน  20 คน  x 150 บาท เป็นเงิน  3,000 บาท (9) ประชุมชี้แจงกิจกรรมโครงการให้กับอาสาสมัครสาธารณสุขและแกนนำชุมชน (10) ประชาสัมพันธ์โครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมเด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L3071-1-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอามีเนาะ ยีเจ๊ะอาแว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด