โครงการเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่รู้ทันพิษภัยของบุหรี่ และบุหรี่ไฟฟ้า
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่รู้ทันพิษภัยของบุหรี่ และบุหรี่ไฟฟ้า ”
ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสุดา นิยมเดชา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่รู้ทันพิษภัยของบุหรี่ และบุหรี่ไฟฟ้า
ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5273-1-2 เลขที่ข้อตกลง 7/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่รู้ทันพิษภัยของบุหรี่ และบุหรี่ไฟฟ้า จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่รู้ทันพิษภัยของบุหรี่ และบุหรี่ไฟฟ้า
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่รู้ทันพิษภัยของบุหรี่ และบุหรี่ไฟฟ้า " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5273-1-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การสูบบุหรี่เป็นพฤติกรรมที่พบเห็นได้ทุกด้านตั้งแต่วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่และวัยผู้สูงอายุ พฤติกรรมการสูบบุหรี่ส่วนใหญ่จะเริ่มต้นจากวัยรุ่น โดยเฉพาะกลุ่มเพื่อนซึ่งจะชักนำไปสู่การสูบบุหรี่ การสูบบุหรี่ของวัยรุ่นมีพบว่ามีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เนื่องจากความเชื่อที่ผิด การขาดความตระหนักในพิษภัยของบุหรี่ และอีกทั้งวัยรุ่นเป็นวัยแห่งการเรียนรู้ด้วยตนเอง อยากรู้อยากลอง ต้องการเป็นที่ยอมรับในกลุ่มเพื่อนด้วยกัน หากกลุ่มที่ตนเองอยู่ร่วมเป็นกลุ่มที่มี ที่เบี่ยงเบน มีพฤติกรรมเสี่ยงด้วยแล้ว โอกาสที่จะทำให้วัยรุ่นเสพติดสิ่งที่ไม่ดีก็มีมากขึ้น การเปิดโอกาสให้วัยรุ่นเป็นคนตัดสินใจและหารูปแบบที่เหมาะสมสำหรับตนเอง มีความรู้และทักษะในการปฏิเสธ เจรจาต่อรองโดยทางเลือกทางใหม่ที่ดีกว่า จะเป็นทักษะที่มีประโยชน์อย่างยิ่งในเชิงยับยั้งพฤติกรรมเสี่ยงได้ ในปี 2567 รพ.สต.ฉลุง ได้ทำการสำรวจ เยาวชนในระดับโรงเรียนในพื้นที่ตำบลฉลุง พบว่าข้อมูลร้อยละ 70 รู้จักและเคยทดลองใช้บุหรี่ไฟฟ้า ประกอบกับปัจจุบันเด็กและเยาวชน อยู่ในยุคเทคโนโลยีที่เฟื่องฟู สามารถค้นหาความรู้ได้เอง แต่ในขณะเดียวกันการใช้เทคโนโลยีก็ยังมีความน่าเป็นห่วง ในทุก ๆ เรื่องจะี 2 ด้านเสมอ การให้ความรู้ในการป้องกันตนเองให้แก่เด็กและเยาวชน ไม่ให้ตกเป็นเหยื่อในสังคม การให้ความรู้้แก่ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา ผู้ปกครอง และแกนนำสุขภาพ ให้รู้เท่าทันกลยุทธ์การตลาดของบุหรี่ไฟฟ้า จึงเป็นเรื่องที่ควรเร่งดำเนินการเพื่อให้ครอบครัว ชุมชนเข้มแข็ง สามารถรับมือกับพิษภัยของบุหรี่ไฟฟ้า รพ.สต.ฉลุง จึงได้จัดทำโครงการ เด็กและเยาวชนรุ่นใหม่รู้ทันพิษภัยของบุหรี่ไฟฟ้า
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อ 1. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้และมีทักษะการป้องกันตนเอง รู้เท่าทันพิษภัยของบุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้า ไม่ตกเป็นเหยื่อในสังคมโลกออนไลน์
- ข้อ 2.เพื่อกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนตระหนักสนใจและมีส่วนร่วมในการควบคุมการบริโภคยาสูบและร่วมกันรณรงค์ ลด ละ เลิก บุหรี่
- ข้อ 3.เพื่อให้ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา ผู้ปกครอง และแกนนำสุขภาพ มีความรู้ความเข้าใจสามารถให้การดูแล ช่วยเหลือบุตรหลานให้ปลอดภัยจาก บุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้า
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะกรรมการ
- จัดอบรมให้ความรู้
- จัดอบรมให้ความรู้ เรื่องพิษภัยบุหรี่ฯ แก่ ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนาฯ
- การติดป้ายประชาสัมพันธ์
- กิจกรรมถอดบทเรียน
- จัอบรมให้ความรู้เรื่องพิษภัยบุหรี่ฯ แก่นักเรียน
- จัดอบรมให้ความรู้
- กิจกรรมขอคืนพื้นที่
- การถอดบทเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
110
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เด็กและเยาวชนมีความรู้และทักษะการป้องกันตนเอง รู้เท่ากันพิษภัยของบุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้า ไม่ตกเป็นเหยื่อในสังคมโลกออนไลน์ ไม่ยุ่งเกี่ยวกับบุหรี่ และบุหรี่ไฟฟ้า
2.เด็กและเยาวชนตระหนักสนใจและมีส่วนร่วมในการควบคุมการบริโภคยาสูบและร่วมกันรณรงค์ ลด ละ เลิก บุหรี่ ในชุมชน
3.ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา ผู้ปกครอง และแกนนำสุขภาพ มีความรู้ความเข้าใจสามารถให้การดูแลช่วยเหลือบุตรหลานให้ปลอดภัยจาก บุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้า
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อ 1. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้และมีทักษะการป้องกันตนเอง รู้เท่าทันพิษภัยของบุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้า ไม่ตกเป็นเหยื่อในสังคมโลกออนไลน์
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชน ที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้และมีทักษะการป้องกันตนเอง รู้เท่าทันพิษภัยของบุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้าไม่ตกเป็นเหยื่อ ในสังคมโลกออนไลน์ ร้อยละ 80
2
ข้อ 2.เพื่อกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนตระหนักสนใจและมีส่วนร่วมในการควบคุมการบริโภคยาสูบและร่วมกันรณรงค์ ลด ละ เลิก บุหรี่
ตัวชี้วัด : มีกิจกรรมการควบคุมการบริโภคยาสูบและร่วมกันรณรงค์ลด ละ เลิก บุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า
3
ข้อ 3.เพื่อให้ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา ผู้ปกครอง และแกนนำสุขภาพ มีความรู้ความเข้าใจสามารถให้การดูแล ช่วยเหลือบุตรหลานให้ปลอดภัยจาก บุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้า
ตัวชี้วัด : ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา ผู้ปกครอง และแกนนำสุขภาพที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจสามารถให้การดูแล ช่วยเหลือบุตรหลานให้ปลอดภัยจาก บุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้าร้อยละ 80
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
160
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
110
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อ 1. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้และมีทักษะการป้องกันตนเอง รู้เท่าทันพิษภัยของบุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้า ไม่ตกเป็นเหยื่อในสังคมโลกออนไลน์ (2) ข้อ 2.เพื่อกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนตระหนักสนใจและมีส่วนร่วมในการควบคุมการบริโภคยาสูบและร่วมกันรณรงค์ ลด ละ เลิก บุหรี่ (3) ข้อ 3.เพื่อให้ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา ผู้ปกครอง และแกนนำสุขภาพ มีความรู้ความเข้าใจสามารถให้การดูแล ช่วยเหลือบุตรหลานให้ปลอดภัยจาก บุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้า
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะกรรมการ (2) จัดอบรมให้ความรู้ (3) จัดอบรมให้ความรู้ เรื่องพิษภัยบุหรี่ฯ แก่ ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนาฯ (4) การติดป้ายประชาสัมพันธ์ (5) กิจกรรมถอดบทเรียน (6) จัอบรมให้ความรู้เรื่องพิษภัยบุหรี่ฯ แก่นักเรียน (7) จัดอบรมให้ความรู้ (8) กิจกรรมขอคืนพื้นที่ (9) การถอดบทเรียน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่รู้ทันพิษภัยของบุหรี่ และบุหรี่ไฟฟ้า จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5273-1-2
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสุดา นิยมเดชา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่รู้ทันพิษภัยของบุหรี่ และบุหรี่ไฟฟ้า ”
ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสุดา นิยมเดชา
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5273-1-2 เลขที่ข้อตกลง 7/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่รู้ทันพิษภัยของบุหรี่ และบุหรี่ไฟฟ้า จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่รู้ทันพิษภัยของบุหรี่ และบุหรี่ไฟฟ้า
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่รู้ทันพิษภัยของบุหรี่ และบุหรี่ไฟฟ้า " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5273-1-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การสูบบุหรี่เป็นพฤติกรรมที่พบเห็นได้ทุกด้านตั้งแต่วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่และวัยผู้สูงอายุ พฤติกรรมการสูบบุหรี่ส่วนใหญ่จะเริ่มต้นจากวัยรุ่น โดยเฉพาะกลุ่มเพื่อนซึ่งจะชักนำไปสู่การสูบบุหรี่ การสูบบุหรี่ของวัยรุ่นมีพบว่ามีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เนื่องจากความเชื่อที่ผิด การขาดความตระหนักในพิษภัยของบุหรี่ และอีกทั้งวัยรุ่นเป็นวัยแห่งการเรียนรู้ด้วยตนเอง อยากรู้อยากลอง ต้องการเป็นที่ยอมรับในกลุ่มเพื่อนด้วยกัน หากกลุ่มที่ตนเองอยู่ร่วมเป็นกลุ่มที่มี ที่เบี่ยงเบน มีพฤติกรรมเสี่ยงด้วยแล้ว โอกาสที่จะทำให้วัยรุ่นเสพติดสิ่งที่ไม่ดีก็มีมากขึ้น การเปิดโอกาสให้วัยรุ่นเป็นคนตัดสินใจและหารูปแบบที่เหมาะสมสำหรับตนเอง มีความรู้และทักษะในการปฏิเสธ เจรจาต่อรองโดยทางเลือกทางใหม่ที่ดีกว่า จะเป็นทักษะที่มีประโยชน์อย่างยิ่งในเชิงยับยั้งพฤติกรรมเสี่ยงได้ ในปี 2567 รพ.สต.ฉลุง ได้ทำการสำรวจ เยาวชนในระดับโรงเรียนในพื้นที่ตำบลฉลุง พบว่าข้อมูลร้อยละ 70 รู้จักและเคยทดลองใช้บุหรี่ไฟฟ้า ประกอบกับปัจจุบันเด็กและเยาวชน อยู่ในยุคเทคโนโลยีที่เฟื่องฟู สามารถค้นหาความรู้ได้เอง แต่ในขณะเดียวกันการใช้เทคโนโลยีก็ยังมีความน่าเป็นห่วง ในทุก ๆ เรื่องจะี 2 ด้านเสมอ การให้ความรู้ในการป้องกันตนเองให้แก่เด็กและเยาวชน ไม่ให้ตกเป็นเหยื่อในสังคม การให้ความรู้้แก่ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา ผู้ปกครอง และแกนนำสุขภาพ ให้รู้เท่าทันกลยุทธ์การตลาดของบุหรี่ไฟฟ้า จึงเป็นเรื่องที่ควรเร่งดำเนินการเพื่อให้ครอบครัว ชุมชนเข้มแข็ง สามารถรับมือกับพิษภัยของบุหรี่ไฟฟ้า รพ.สต.ฉลุง จึงได้จัดทำโครงการ เด็กและเยาวชนรุ่นใหม่รู้ทันพิษภัยของบุหรี่ไฟฟ้า
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อ 1. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้และมีทักษะการป้องกันตนเอง รู้เท่าทันพิษภัยของบุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้า ไม่ตกเป็นเหยื่อในสังคมโลกออนไลน์
- ข้อ 2.เพื่อกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนตระหนักสนใจและมีส่วนร่วมในการควบคุมการบริโภคยาสูบและร่วมกันรณรงค์ ลด ละ เลิก บุหรี่
- ข้อ 3.เพื่อให้ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา ผู้ปกครอง และแกนนำสุขภาพ มีความรู้ความเข้าใจสามารถให้การดูแล ช่วยเหลือบุตรหลานให้ปลอดภัยจาก บุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้า
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะกรรมการ
- จัดอบรมให้ความรู้
- จัดอบรมให้ความรู้ เรื่องพิษภัยบุหรี่ฯ แก่ ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนาฯ
- การติดป้ายประชาสัมพันธ์
- กิจกรรมถอดบทเรียน
- จัอบรมให้ความรู้เรื่องพิษภัยบุหรี่ฯ แก่นักเรียน
- จัดอบรมให้ความรู้
- กิจกรรมขอคืนพื้นที่
- การถอดบทเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 110 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เด็กและเยาวชนมีความรู้และทักษะการป้องกันตนเอง รู้เท่ากันพิษภัยของบุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้า ไม่ตกเป็นเหยื่อในสังคมโลกออนไลน์ ไม่ยุ่งเกี่ยวกับบุหรี่ และบุหรี่ไฟฟ้า 2.เด็กและเยาวชนตระหนักสนใจและมีส่วนร่วมในการควบคุมการบริโภคยาสูบและร่วมกันรณรงค์ ลด ละ เลิก บุหรี่ ในชุมชน 3.ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา ผู้ปกครอง และแกนนำสุขภาพ มีความรู้ความเข้าใจสามารถให้การดูแลช่วยเหลือบุตรหลานให้ปลอดภัยจาก บุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้า
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อ 1. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้และมีทักษะการป้องกันตนเอง รู้เท่าทันพิษภัยของบุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้า ไม่ตกเป็นเหยื่อในสังคมโลกออนไลน์ ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชน ที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้และมีทักษะการป้องกันตนเอง รู้เท่าทันพิษภัยของบุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้าไม่ตกเป็นเหยื่อ ในสังคมโลกออนไลน์ ร้อยละ 80 |
|
|||
2 | ข้อ 2.เพื่อกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนตระหนักสนใจและมีส่วนร่วมในการควบคุมการบริโภคยาสูบและร่วมกันรณรงค์ ลด ละ เลิก บุหรี่ ตัวชี้วัด : มีกิจกรรมการควบคุมการบริโภคยาสูบและร่วมกันรณรงค์ลด ละ เลิก บุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า |
|
|||
3 | ข้อ 3.เพื่อให้ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา ผู้ปกครอง และแกนนำสุขภาพ มีความรู้ความเข้าใจสามารถให้การดูแล ช่วยเหลือบุตรหลานให้ปลอดภัยจาก บุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้า ตัวชี้วัด : ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา ผู้ปกครอง และแกนนำสุขภาพที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจสามารถให้การดูแล ช่วยเหลือบุตรหลานให้ปลอดภัยจาก บุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้าร้อยละ 80 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 160 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 110 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อ 1. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้และมีทักษะการป้องกันตนเอง รู้เท่าทันพิษภัยของบุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้า ไม่ตกเป็นเหยื่อในสังคมโลกออนไลน์ (2) ข้อ 2.เพื่อกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนตระหนักสนใจและมีส่วนร่วมในการควบคุมการบริโภคยาสูบและร่วมกันรณรงค์ ลด ละ เลิก บุหรี่ (3) ข้อ 3.เพื่อให้ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา ผู้ปกครอง และแกนนำสุขภาพ มีความรู้ความเข้าใจสามารถให้การดูแล ช่วยเหลือบุตรหลานให้ปลอดภัยจาก บุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้า
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะกรรมการ (2) จัดอบรมให้ความรู้ (3) จัดอบรมให้ความรู้ เรื่องพิษภัยบุหรี่ฯ แก่ ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนาฯ (4) การติดป้ายประชาสัมพันธ์ (5) กิจกรรมถอดบทเรียน (6) จัอบรมให้ความรู้เรื่องพิษภัยบุหรี่ฯ แก่นักเรียน (7) จัดอบรมให้ความรู้ (8) กิจกรรมขอคืนพื้นที่ (9) การถอดบทเรียน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่รู้ทันพิษภัยของบุหรี่ และบุหรี่ไฟฟ้า จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5273-1-2
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสุดา นิยมเดชา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......