โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพจิต-พิชิตสุขภาพใจนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนวัดโคกเหรียง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพจิต-พิชิตสุขภาพใจนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนวัดโคกเหรียง ”
ตำบลโคกม่วง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางวิลาวรรณ แก่นจันทร์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพจิต-พิชิตสุขภาพใจนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนวัดโคกเหรียง
ที่อยู่ ตำบลโคกม่วง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5168-3-02 เลขที่ข้อตกลง 02/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 มิถุนายน 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพจิต-พิชิตสุขภาพใจนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนวัดโคกเหรียง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกม่วง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพจิต-พิชิตสุขภาพใจนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนวัดโคกเหรียง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพจิต-พิชิตสุขภาพใจนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนวัดโคกเหรียง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกม่วง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5168-3-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 มิถุนายน 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,830.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพจิต คือ ความสามารถของบุคคลที่จะปรับตัวให้มีความสุขอยู่กับสังคมและสิ่งแวดล้อมได้ดีมีสัมพันธภาพอันดีงามกับบุคคลอื่นและดำรงชีวิตอยู่ได้ด้วยความสมดุลอย่างสุขสบาย รวมทั้งสนองความสามารถของตนเองในโลกที่กำลังเปลี่ยนแปลงนี้ได้โดยไม่มีข้อขัดแย้งภายในจิตใจ ทั้งนี้ คำว่า สุขภาพจิตมิได้หมายความเฉพาะเพียงแต่ความปราศจากอาการของโรคประสาทและโรคจิตเท่านั้น จะเห็นได้ว่าสุขภาพจิตเกี่ยวข้องกับการนึกคิด ความรู้สึก และการกระทำของบุคคลในบางครั้งผู้ที่มีสุขภาพจิตปกติอาจจะมีสุขภาพดีขึ้นหรือเลวลงก็ได้ คนที่มีสุขภาพจิตดี จะสามารถปรับตัวให้เข้ากับคนอื่นๆได้อย่างดี แม้บางอาจขัดแย้งหรือมีอารมณ์โกรธ หรือมีปัญหาชีวิต แต่ก็สามารถปรับอารมณ์และเผชิญกับปัญหาต่างๆได้เป็นอย่างดีโดยไม่เสียดุลทางจิตใจ จึงอาจกล่าวได้ว่า สุขภาพจิตก็คือความมั่นคงทางใจนั่นเอง เราสามารถสร้างเสริมสุขภาพกายได้ด้วยภาวะจิตใจที่เป็นสุขสามารถปรับตัวแก้ปัญหา สร้างสรรค์ทำงานได้ มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น มีความมั่นคงทางจิตใจ มีวุฒิภาวะทางอารมณ์อยู่ในสังคม และสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงได้ นอกจากนี้ เราในฐานะผู้ใหญ่และผู้วางนโยบายต้องรับฟังเสียงของเด็กและวัยรุ่นที่กำลังเผชิญกับความท้าทายด้านสุขภาพจิต โดยเฉพาะกลุ่มที่เปราะบางที่สุด เช่น เด็กข้ามชาติ เด็กไร้สัญชาติ และเด็กที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรม พวกเขาต้องมีความเป็นอยู่ที่ดีไม่ว่าจะเป็นที่บ้านหรือในโรงเรียน พ่อแม่และครูต้องเปิดใจพูดคุยและรับฟังปัญหาสุขภาพจิตที่ถูกตีตรามาเป็นเวลานาน นั่นหมายความว่า เราต้องสนับสนุนพ่อแม่ ผู้ปกครอง และตัวเด็กเองให้มีความรู้ด้านสุขภาพจิต และช่วยเหลือเด็กๆ ที่กำลังเผชิญกับความรุนแรง การถูกรังแกในห้องเรียน สื่อเกมออนไลน์ และการฆาตกรรมในเยาวชน ให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ความทุกข์ ความ เครียด ปัญหาสุขภาพจิตเกิดขึ้นได้กับทุกเพศวัย โดยปัญหามีต่างกันไปในเนื้อเรื่อง วัยเด็ก อาจเป็นเรื่องการเรียน วัยผู้ใหญ่อาจเป็นเรื่องสุขภาพ ความมั่นใจในตัวเอง ยิ่งผู้สูงอายุต้องดูแลสุขภาพจิตใจให้ดียิ่งขึ้น ดังนั้นไม่ว่าจะเป็นวัยใด ไม่ควรละเลยการดูแลรักษาสุขภาพกายและสุขภาพจิตใจให้ดีพร้อมไว้ เพื่อห่างไกลโรค จากความเจ็บป่วย
ดังนั้นโรงเรียนวัดโคกเหรียงเห็นถึงความสำคัญของการให้ความรู้ พ่อ แม่ ผู้ปกครองนักเรียน และครู เพื่อสังเกต พฤติกรรมของนักเรียนได้ในเบื้องต้นเพื่อหาแนวทางแก้ปัญหาได้ทันกับสถานการณ์และเป็นการแก้ปัญหาที่ตนเหตุอย่างถูกต้องตามหลักการในระดับครอบครัวใน และหากเกิดปัญหาด้านสุขภาพจิตแล้วได้รับการดูแลอย่างถูกวิธี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
68
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียน ครู และผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาวะทางจิต สาเหตุและปัญหาที่เกิดขึ้นจากสุขภาพจิตของเด็กและเยาวชนในปัจจุบัน
- สร้างความตระหนักในการสร้างสุขภาวะทางจิต สุขภาวะทางสังคม อย่างถูกต้อง
- เป็นการส่งเสริม พัฒนา เด็กและเยาวชน ให้มีความพร้อมและรู้เท่าทันความเปลี่ยนแปลง
ของสังคมปัจจุบัน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
68
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
68
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพจิต-พิชิตสุขภาพใจนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนวัดโคกเหรียง จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5168-3-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางวิลาวรรณ แก่นจันทร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพจิต-พิชิตสุขภาพใจนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนวัดโคกเหรียง ”
ตำบลโคกม่วง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางวิลาวรรณ แก่นจันทร์
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลโคกม่วง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5168-3-02 เลขที่ข้อตกลง 02/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 มิถุนายน 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพจิต-พิชิตสุขภาพใจนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนวัดโคกเหรียง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกม่วง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพจิต-พิชิตสุขภาพใจนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนวัดโคกเหรียง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพจิต-พิชิตสุขภาพใจนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนวัดโคกเหรียง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกม่วง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5168-3-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 มิถุนายน 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,830.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพจิต คือ ความสามารถของบุคคลที่จะปรับตัวให้มีความสุขอยู่กับสังคมและสิ่งแวดล้อมได้ดีมีสัมพันธภาพอันดีงามกับบุคคลอื่นและดำรงชีวิตอยู่ได้ด้วยความสมดุลอย่างสุขสบาย รวมทั้งสนองความสามารถของตนเองในโลกที่กำลังเปลี่ยนแปลงนี้ได้โดยไม่มีข้อขัดแย้งภายในจิตใจ ทั้งนี้ คำว่า สุขภาพจิตมิได้หมายความเฉพาะเพียงแต่ความปราศจากอาการของโรคประสาทและโรคจิตเท่านั้น จะเห็นได้ว่าสุขภาพจิตเกี่ยวข้องกับการนึกคิด ความรู้สึก และการกระทำของบุคคลในบางครั้งผู้ที่มีสุขภาพจิตปกติอาจจะมีสุขภาพดีขึ้นหรือเลวลงก็ได้ คนที่มีสุขภาพจิตดี จะสามารถปรับตัวให้เข้ากับคนอื่นๆได้อย่างดี แม้บางอาจขัดแย้งหรือมีอารมณ์โกรธ หรือมีปัญหาชีวิต แต่ก็สามารถปรับอารมณ์และเผชิญกับปัญหาต่างๆได้เป็นอย่างดีโดยไม่เสียดุลทางจิตใจ จึงอาจกล่าวได้ว่า สุขภาพจิตก็คือความมั่นคงทางใจนั่นเอง เราสามารถสร้างเสริมสุขภาพกายได้ด้วยภาวะจิตใจที่เป็นสุขสามารถปรับตัวแก้ปัญหา สร้างสรรค์ทำงานได้ มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น มีความมั่นคงทางจิตใจ มีวุฒิภาวะทางอารมณ์อยู่ในสังคม และสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงได้ นอกจากนี้ เราในฐานะผู้ใหญ่และผู้วางนโยบายต้องรับฟังเสียงของเด็กและวัยรุ่นที่กำลังเผชิญกับความท้าทายด้านสุขภาพจิต โดยเฉพาะกลุ่มที่เปราะบางที่สุด เช่น เด็กข้ามชาติ เด็กไร้สัญชาติ และเด็กที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรม พวกเขาต้องมีความเป็นอยู่ที่ดีไม่ว่าจะเป็นที่บ้านหรือในโรงเรียน พ่อแม่และครูต้องเปิดใจพูดคุยและรับฟังปัญหาสุขภาพจิตที่ถูกตีตรามาเป็นเวลานาน นั่นหมายความว่า เราต้องสนับสนุนพ่อแม่ ผู้ปกครอง และตัวเด็กเองให้มีความรู้ด้านสุขภาพจิต และช่วยเหลือเด็กๆ ที่กำลังเผชิญกับความรุนแรง การถูกรังแกในห้องเรียน สื่อเกมออนไลน์ และการฆาตกรรมในเยาวชน ให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ความทุกข์ ความ เครียด ปัญหาสุขภาพจิตเกิดขึ้นได้กับทุกเพศวัย โดยปัญหามีต่างกันไปในเนื้อเรื่อง วัยเด็ก อาจเป็นเรื่องการเรียน วัยผู้ใหญ่อาจเป็นเรื่องสุขภาพ ความมั่นใจในตัวเอง ยิ่งผู้สูงอายุต้องดูแลสุขภาพจิตใจให้ดียิ่งขึ้น ดังนั้นไม่ว่าจะเป็นวัยใด ไม่ควรละเลยการดูแลรักษาสุขภาพกายและสุขภาพจิตใจให้ดีพร้อมไว้ เพื่อห่างไกลโรค จากความเจ็บป่วย ดังนั้นโรงเรียนวัดโคกเหรียงเห็นถึงความสำคัญของการให้ความรู้ พ่อ แม่ ผู้ปกครองนักเรียน และครู เพื่อสังเกต พฤติกรรมของนักเรียนได้ในเบื้องต้นเพื่อหาแนวทางแก้ปัญหาได้ทันกับสถานการณ์และเป็นการแก้ปัญหาที่ตนเหตุอย่างถูกต้องตามหลักการในระดับครอบครัวใน และหากเกิดปัญหาด้านสุขภาพจิตแล้วได้รับการดูแลอย่างถูกวิธี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 68 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียน ครู และผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาวะทางจิต สาเหตุและปัญหาที่เกิดขึ้นจากสุขภาพจิตของเด็กและเยาวชนในปัจจุบัน
- สร้างความตระหนักในการสร้างสุขภาวะทางจิต สุขภาวะทางสังคม อย่างถูกต้อง
- เป็นการส่งเสริม พัฒนา เด็กและเยาวชน ให้มีความพร้อมและรู้เท่าทันความเปลี่ยนแปลง ของสังคมปัจจุบัน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 68 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 68 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพจิต-พิชิตสุขภาพใจนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนวัดโคกเหรียง จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5168-3-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางวิลาวรรณ แก่นจันทร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......