โครงการการดูแลสุขภาพด้วยวิถีไทย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการการดูแลสุขภาพด้วยวิถีไทย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ”
ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายอัสมัน มะมิง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการการดูแลสุขภาพด้วยวิถีไทย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568
ที่อยู่ ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2475-02-07 เลขที่ข้อตกลง 16/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 29 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการดูแลสุขภาพด้วยวิถีไทย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการดูแลสุขภาพด้วยวิถีไทย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการดูแลสุขภาพด้วยวิถีไทย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2475-02-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กุมภาพันธ์ 2568 - 29 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การแพทย์แผนไทยเป็นศาสตร์ทางการแพทย์แขนงหนึ่งที่เป็นลักษณะแนวสุขภาพแบบองค์รวม โดยองค์ความรู้ที่ใช้จะเป็นองค์ความรู้ที่สั่งสมกันมาแต่ในอดีตบวกกับการศึกษาวิจัยเพิ่มเติมในปัจจุบัน ซึ่งกำลังได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายเพื่อมาดูแลสุขภาพ ให้สามารถพึ่งพาตนเอง เป็นการดูแลตนเองและบุคคลใกล้ชิด เพียงแค่รู้จักนำสมุนไพรใกล้ตัวมาใช้ เราก็สามารถบรรเทาอาการและรักษาโรคเบื้องต้นอย่างได้ผล สมุนไพรเป็นสิ่งที่อยู่ใกล้ตัว มีการใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันมานาน และเป็นสิ่งที่หาได้ง่ายในท้องถิ่น รวมถึงสมุนไพรเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่แล้ว โดยสามารถนำมาใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ มากมาย อาทิเช่นยารักษาโรค เป็นได้ทั้งยาใช้ภายในและยาใช้ภายนอก อีกทั้งสมุนไพรส่วนใหญ่มีฤทธิ์อ่อนไม่เป็นพิษหรือมีอาการข้างเคียงรุนแรง จึงควรค่าอย่างยิ่งที่เราจะนำมาใช้เป็นประโยชน์ สามารถนำสิ่งที่มีอยู่ในชุมชนมาต่อยอดให้กลายเป็นตัวยาที่สามารถใช้ในชีวิตประจำวันได้จริง รวมถึงยังได้องค์ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการทำยาสมุนไพร เพื่อเป็นการส่งเสริมประชาชนให้มีความรู้สามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืนสอดคล้องกับวิถีชีวิตของชุมชน ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกูมุง ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมการใช้ยาสมุไพรเพื่อการรักษาโรค โดยเฉพาะกลุ่มโรคในระบบกล้ามเนื้อเนื่องจากผู้ป่วยมาด้วยอาการทางระบบกล้ามเนื้อค่อนข้างมาก จึงได้จัดทำโครงการการดูแลสุขภาพด้วยวิถีไทย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ขึ้น เพื่อให้ประชาชนสามารถผลิตและใช้ลูกประคบ รวมทั้งสามารถทำกิจกรรมบริหารกายด้วยท่าฤาษีดัดตนด้วยตัวเองเพื่อบรรเทาอาการเจ็บป่วยของตนเองและบุคคลในครอบครัวได้ตามแนวทางการแพทย์แผนไทย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชน มีความรู้ความเข้าใจในการนำภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย มาใช้ประโยชน์จากสมุนไพรเพื่อการดูแลสุขภาพของตนเอง ได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
- เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคกล้ามเนื้อ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพด้วยวิถีไทยแก่กลุ่มเป้าหมายวัยทำงาน ในหัวข้อเรื่อง การทำลูกประคบ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.รู้จักการใช้ยาสมุนไพรในการรักษาโรคได้อย่างถูกต้องและปลอดภัยมากยิ่งขึ้น
2.มีความรู้ความเข้าใจในการนำภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย มาใช้ประโยชน์ในการทำผลิตภัณฑ์ต่างๆ จากสมุนไพรในการดูแลสุขภาพของตนเอง และคนใกล้ตัว
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ประชาชน มีความรู้ความเข้าใจในการนำภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย มาใช้ประโยชน์จากสมุนไพรเพื่อการดูแลสุขภาพของตนเอง ได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
ตัวชี้วัด : ทำแบบทดสอบความรู้หลังการอบรมผ่านมากกว่าร้อยละ 50
50.00
2
เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคกล้ามเนื้อ
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยมีปัญหาโรคกล้ามเนื้อและมารับบริการนวดแพทย์แผนไทยน้อยกว่าร้อยละ 50
50.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชน มีความรู้ความเข้าใจในการนำภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย มาใช้ประโยชน์จากสมุนไพรเพื่อการดูแลสุขภาพของตนเอง ได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย (2) เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคกล้ามเนื้อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพด้วยวิถีไทยแก่กลุ่มเป้าหมายวัยทำงาน ในหัวข้อเรื่อง การทำลูกประคบ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการการดูแลสุขภาพด้วยวิถีไทย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2475-02-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอัสมัน มะมิง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการการดูแลสุขภาพด้วยวิถีไทย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ”
ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายอัสมัน มะมิง
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2475-02-07 เลขที่ข้อตกลง 16/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 29 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการดูแลสุขภาพด้วยวิถีไทย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการดูแลสุขภาพด้วยวิถีไทย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการดูแลสุขภาพด้วยวิถีไทย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2475-02-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กุมภาพันธ์ 2568 - 29 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การแพทย์แผนไทยเป็นศาสตร์ทางการแพทย์แขนงหนึ่งที่เป็นลักษณะแนวสุขภาพแบบองค์รวม โดยองค์ความรู้ที่ใช้จะเป็นองค์ความรู้ที่สั่งสมกันมาแต่ในอดีตบวกกับการศึกษาวิจัยเพิ่มเติมในปัจจุบัน ซึ่งกำลังได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายเพื่อมาดูแลสุขภาพ ให้สามารถพึ่งพาตนเอง เป็นการดูแลตนเองและบุคคลใกล้ชิด เพียงแค่รู้จักนำสมุนไพรใกล้ตัวมาใช้ เราก็สามารถบรรเทาอาการและรักษาโรคเบื้องต้นอย่างได้ผล สมุนไพรเป็นสิ่งที่อยู่ใกล้ตัว มีการใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันมานาน และเป็นสิ่งที่หาได้ง่ายในท้องถิ่น รวมถึงสมุนไพรเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่แล้ว โดยสามารถนำมาใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ มากมาย อาทิเช่นยารักษาโรค เป็นได้ทั้งยาใช้ภายในและยาใช้ภายนอก อีกทั้งสมุนไพรส่วนใหญ่มีฤทธิ์อ่อนไม่เป็นพิษหรือมีอาการข้างเคียงรุนแรง จึงควรค่าอย่างยิ่งที่เราจะนำมาใช้เป็นประโยชน์ สามารถนำสิ่งที่มีอยู่ในชุมชนมาต่อยอดให้กลายเป็นตัวยาที่สามารถใช้ในชีวิตประจำวันได้จริง รวมถึงยังได้องค์ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการทำยาสมุนไพร เพื่อเป็นการส่งเสริมประชาชนให้มีความรู้สามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืนสอดคล้องกับวิถีชีวิตของชุมชน ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกูมุง ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมการใช้ยาสมุไพรเพื่อการรักษาโรค โดยเฉพาะกลุ่มโรคในระบบกล้ามเนื้อเนื่องจากผู้ป่วยมาด้วยอาการทางระบบกล้ามเนื้อค่อนข้างมาก จึงได้จัดทำโครงการการดูแลสุขภาพด้วยวิถีไทย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ขึ้น เพื่อให้ประชาชนสามารถผลิตและใช้ลูกประคบ รวมทั้งสามารถทำกิจกรรมบริหารกายด้วยท่าฤาษีดัดตนด้วยตัวเองเพื่อบรรเทาอาการเจ็บป่วยของตนเองและบุคคลในครอบครัวได้ตามแนวทางการแพทย์แผนไทย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชน มีความรู้ความเข้าใจในการนำภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย มาใช้ประโยชน์จากสมุนไพรเพื่อการดูแลสุขภาพของตนเอง ได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
- เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคกล้ามเนื้อ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพด้วยวิถีไทยแก่กลุ่มเป้าหมายวัยทำงาน ในหัวข้อเรื่อง การทำลูกประคบ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.รู้จักการใช้ยาสมุนไพรในการรักษาโรคได้อย่างถูกต้องและปลอดภัยมากยิ่งขึ้น 2.มีความรู้ความเข้าใจในการนำภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย มาใช้ประโยชน์ในการทำผลิตภัณฑ์ต่างๆ จากสมุนไพรในการดูแลสุขภาพของตนเอง และคนใกล้ตัว
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชน มีความรู้ความเข้าใจในการนำภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย มาใช้ประโยชน์จากสมุนไพรเพื่อการดูแลสุขภาพของตนเอง ได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย ตัวชี้วัด : ทำแบบทดสอบความรู้หลังการอบรมผ่านมากกว่าร้อยละ 50 |
50.00 |
|
||
2 | เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคกล้ามเนื้อ ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยมีปัญหาโรคกล้ามเนื้อและมารับบริการนวดแพทย์แผนไทยน้อยกว่าร้อยละ 50 |
50.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชน มีความรู้ความเข้าใจในการนำภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย มาใช้ประโยชน์จากสมุนไพรเพื่อการดูแลสุขภาพของตนเอง ได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย (2) เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคกล้ามเนื้อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพด้วยวิถีไทยแก่กลุ่มเป้าหมายวัยทำงาน ในหัวข้อเรื่อง การทำลูกประคบ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการการดูแลสุขภาพด้วยวิถีไทย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2475-02-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอัสมัน มะมิง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......