กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู


“ โครงการเดินวิ่งเพื่อสุขภาพตำบลละงู ”

ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
ชมรมเดินวิ่งเพื่อสุขภาพอำเภอละงู

ชื่อโครงการ โครงการเดินวิ่งเพื่อสุขภาพตำบลละงู

ที่อยู่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5313-2-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเดินวิ่งเพื่อสุขภาพตำบลละงู จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเดินวิ่งเพื่อสุขภาพตำบลละงู



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเดินวิ่งเพื่อสุขภาพตำบลละงู " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5313-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไม่ติดต่อเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของชุมชน จากรายงานของกระทรวงสาธารณสุขพบว่าโรคที่เป็นปัญหาในชุมชน 5 อันดับแรก ในกลุ่มโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานโรคหัวใจ โรคระบบกล้ามเนื้อและโครงร่างและไขมันอุดตันในเส้นเลือด ผู้ป่วยที่พบส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มวัยแรงงาน กลุ่มผู้สูงอายุ และพบว่าสาเหตุเกิดจากผู้ป่วยขาดการออกกำลังกาย และบริโภคอาหารที่ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน หากประชาชนได้บริโภคอาหารอย่างถูกสุขลักษณะและมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอจะสามารถลดปัญหาดังกล่าวได้ระดับหนึ่ง และระบบการส่งเสริมสุขภาพที่เน้นการ "สร้าง" มากกว่าการ "ซ่อม" สุขภาพ ซึ่งเน้นระบบสุขภาพเชิงรุกและการสร้างเสริมสุขภาพให้ประชาชน โดยรัฐบาลได้กำหนดนโยบาย 5 อ. เป็นหลักในการสร้างสุขภาพแก่ประชาชน ประกอบด้วย การออกกำลังกาย อาหารปลอดภัย อารมณ์และสุขภาพจิต อนามัยชุมชน และอโรคยา การส่งเสริมให้ประชาชนออกกำลังกายเพื่อดูแลรักษาสุขภาพให้แข็งแรง ช่วยป้องกันโรค และมีสุขภาพจิตที่ดี ช่วยลดการเข้ารักษาจากโรงพยาบาลและประหยัดงบประมาณภาครัฐโดยเริ่มจากการจัดกิจกรรมออกกำลังกายด้วยการเดินวิ่ง ที่สามารถเริ่มได้ง่ายและบูรณาการกับกิจกรรมอื่นๆ ที่จำเป็นในการสร้างสุขภาพของบุคคลครอบครัวและชุมชน และเสริมองค์ความรู้และทักษะที่จำเป็นในการสร้างและพัฒนาความเข้มแข็งของประชาชนที่จะร่วมใจแก้ปัญหาสุขภาพของตนเองและชุมชนโดยมีเป้าหมายส่งเสริมให้คนไทยอายุ 6 ปีขึ้นไปออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอด้วยการออกกำลังกายแบบต่างๆ เช่น การเดิน วิ่ง ปั่นจักรยาน ว่ายน้ำ เต้นแอโรบิค เป็นต้น การเดินวิ่งเพื่อสุขภาพ เป็นกิจกรรมการออกกำลังกายที่สามารถทำได้กับทุกเพศทุกวัยและช่วยให้ประชาชนได้ตระหนักถึงความสำคัญประโยชน์ของการออกกำลังกายการเดินวิ่งมีประโยชน์ต่อร่างกายแทบทุกส่วน รวมไปถึงยกระดับอารมณ์และช่วยให้สุขภาพดีขึ้น ช่วยปรับปรุงสุขภาพ ช่วยยกระดับการทำงานของปอดและช่วยให้ใช้งานปอดได้ดีขึ้น ทั้งยังเพิ่มระดับของภูมิคุ้มกัน และยังลดความเสี่ยงในการเกิดลิ่มเลือด การป้องกันโรคและซ่อมแซมสุขภาพ การวิ่งมีประโยชน์ต่อทั้งร่างกาย จิตใจและจิตวิญญาณ การวิ่งระยะสั้นๆ ก็ทำให้รู้สึกกระปรี้กระเปร่าขึ้น มีสมาธิมากขึ้นและมีความสุขในชีวิตมากขึ้นไปด้วย
ชมรมเดิน วิ่งเพื่อสุขภาพ อ.ละงู เกิดจากการรวมตัวของประชาชน ทุกเพศทุกวัย ช่วยสรรค์สร้างกิจกรรมเพื่อสุขภาพและแรงจูงใจให้เกิดการเดิน วิ่ง และสร้างแบบอย่างเพื่อจุดประกายให้ทุกคนมาดูแลรักษาสุขภาพด้วยการเดิน วิ่ง ออกกำลังกาย ตลอดได้เล็งเห็นความสำคัญและประโยชน์ของการออกกำลังกายที่มีประสิทธิภาพและการดูแลสุขภาพของประชาชน การรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ และการปฏิบัติตนให้มีสุขภาพดี จึงดำเนินโครงการเดินวิ่งเพื่อสุขภาพตำบลละงูประจำปี พ.ศ. 2561 ตามประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคภายใต้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเรื่องการจัดบริการสาธารณสุขของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2557 โดยอาศัยอำนาจตามความในข้อ 2 ของประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเรื่องการกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2557ประเภทที่ 2 เพื่อสนับสนุนให้กลุ่มหรือองค์กรประชาชนหรือหน่วยงานอื่นในพื้นที่ได้ดำเนินโครงการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพการป้องกันโรคให้แก่สมาชิกหรือประชาชนในพื้นที่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะการเดินวิ่งอย่างมีประสิทธิภาพและโภชนาการที่เหมาะสมกับการดูแสุขภาพ
  2. เพื่อให้ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญกับการสร้างเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกายที่เหมาะสม
  3. เพื่อรณรงค์ส่งเสริมให้มีการออกกำลังกายด้วยการเดินวิ่งเพื่อสุขภาพในชุมชน
  4. เพื่อให้ประชาชนมีการเดินวิ่งออกกำลังกายเพื่อฟื้นฟูสุขภาพอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 300
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะการเดินวิ่งอย่างมีประสิทธิภาพและโภชนาการที่เหมาะสมกับการดูแสุขภาพ 2.ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญกับการสร้างเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกายที่เหมาะสม 3.มีการออกกำลังกายด้วยการเดินวิ่งเพื่อสุขภาพในชุมชน 4.ประชาชนมีการเดินวิ่งออกกำลังกายเพื่อฟื้นฟูสุขภาพอย่างต่อเนื่อง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการเดินวิ่งอย่างมีประสิทธิภาพและโภชนาการที่เหมาะสมกับการดูแลสุขภาพและรณรงค์การเดินวิ่งเพื่อสุขภาพในชุมชน

    วันที่ 9 กรกฎาคม 2562

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดกิจกรรมเดินวิ่งเพื่อสุขภาพ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ ทักษาะการเดินวิ่งอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความตระหนักเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ -มีการรณรงค์ส่งเสริมการออกกำลังกาย

     

    300 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    การดำเนินโครงการเสร็จด้วยความเรียบร้อย บรรลุวัตถุประสงค์โครงการเดินวิ่งเพื่อสุขภาพ ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการในการออกกำลังกายเกิดความตระหนักในการดูแลสุขภาพ

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะการเดินวิ่งอย่างมีประสิทธิภาพและโภชนาการที่เหมาะสมกับการดูแสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 50 มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะการเดินวิ่งอย่างมีประสิทธิภาพและโภชนาการที่เหมาะสมกับการดูแสุขภาพ

     

    2 เพื่อให้ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญกับการสร้างเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกายที่เหมาะสม
    ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 40 เกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญกับการสร้างเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกาย

     

    3 เพื่อรณรงค์ส่งเสริมให้มีการออกกำลังกายด้วยการเดินวิ่งเพื่อสุขภาพในชุมชน
    ตัวชี้วัด : มีการรณงค์การเดินวิ่งเพื่อสุขภาพ

     

    4 เพื่อให้ประชาชนมีการเดินวิ่งออกกำลังกายเพื่อฟื้นฟูสุขภาพอย่างต่อเนื่อง
    ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 30 มีการเดินวิ่งอย่างต่อเนื่อง

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300 300
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 300 300
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะการเดินวิ่งอย่างมีประสิทธิภาพและโภชนาการที่เหมาะสมกับการดูแสุขภาพ (2) เพื่อให้ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญกับการสร้างเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกายที่เหมาะสม (3) เพื่อรณรงค์ส่งเสริมให้มีการออกกำลังกายด้วยการเดินวิ่งเพื่อสุขภาพในชุมชน (4) เพื่อให้ประชาชนมีการเดินวิ่งออกกำลังกายเพื่อฟื้นฟูสุขภาพอย่างต่อเนื่อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเดินวิ่งเพื่อสุขภาพตำบลละงู จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 61-L5313-2-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ชมรมเดินวิ่งเพื่อสุขภาพอำเภอละงู )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด