โครงการรู้ไวใส่ใจปลอดภัยจากมะเร็งลำไส้ใหญ่, มะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนถบ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรู้ไวใส่ใจปลอดภัยจากมะเร็งลำไส้ใหญ่, มะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนถบ ”
ตำบลพญาขัน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางชะอ้น ส่งแก้ว
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพญาขัน
กรกฎาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการรู้ไวใส่ใจปลอดภัยจากมะเร็งลำไส้ใหญ่, มะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนถบ
ที่อยู่ ตำบลพญาขัน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3359-1-2 เลขที่ข้อตกลง 6/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรู้ไวใส่ใจปลอดภัยจากมะเร็งลำไส้ใหญ่, มะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนถบ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพญาขัน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพญาขัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรู้ไวใส่ใจปลอดภัยจากมะเร็งลำไส้ใหญ่, มะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนถบ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรู้ไวใส่ใจปลอดภัยจากมะเร็งลำไส้ใหญ่, มะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนถบ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพญาขัน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-L3359-1-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2568 - 31 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,910.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพญาขัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคมะเร็ง ถือเป็นสาเหตุอันดับต้นๆ ของการเสียชีวิตของประชากรไทย ตั้งแต่อดีตจวบจนถึงปัจจุบันและยังมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆอย่างต่อเนื่อง มะเร็งที่พบบ่อยมากที่สุดในคนไทย 5 อันดับ ประกอบด้วย มะเร็งตับและมะเร็งท่อน้ำดี, มะเร็งปอด, มะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก, มะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก (ข้อมูลปี 2563)
พบมะเร็งในชายไทย 5 ลำดับแรก คือ มะเร็งตับและท่อน้ำดี, มะเร็งปอด, มะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรง, มะเร็งต่อมลูกหมาก และมะเร็งต่อมน้ำเหลือง ส่วนโรคมะเร็งที่พบในหญิงไทย 5 ลำดับแรก คือมะเร็งเต้านม, มะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรง, มะเร็งตับและท่อน้ำดี, มะเร็งปอด และมะเร็งปากมดลูก ปัจจุบันมีการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งแต่ละชนิดที่แตกต่างกัน การตรวจหาเซลล์มะเร็งให้พบตั้งแต่อยู่ในระยะเริ่มแรกและในระยะก่อนเป็นมะเร็งซึ่งสามารถรักษาให้หายได้ และเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการรักษาในระยะลุกลาม
รพ.สต.บ้านควนถบ เห็นความสำคัญของการคัดกรองโรคมะเร็งที่สามารถค้นหาโรคมะเร็งตั้งแต่ระยะเริ่มแรก เพื่อการรักษาอย่างรวดเร็ว จึงได้จัดทำโครงการรู้ไวใส่ใจปลอดภัยจากมะเร็งลำไส้ใหญ่, มะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ปี 2568 ขึ้น วัตถุประสงค์เพื่อคัดกรองโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ โดยการตรวจเม็ดเลือดแดงที่แฝงในอุจจาระ ด้วยวิธี Fecal Immunochemical (FIT test) ในกลุ่มประชากรอายุ 50-70 ปี, คัดกรองโรคมะเร็งเต้านม ในสตรีอายุ 30-70 ปี โดยติดตามการตรวจเต้านมด้วยตนเองเป็นประจำอย่างสม่ำเสมอทุกเดือน และตรวจซ้ำโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
ปีละ 1 ครั้ง, คัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกในสตรีอายุ 30-60 ปี โดยการตรวจหาเซลล์มะเร็งด้วยการทำ Pap smear/ DNA test และการให้ความรู้ เรื่องโรคมะเร็ง และการป้องกันโรคมะเร็งชนิดต่างๆแก่กลุ่มเป้าหมาย และอบรมความรู้ เชิงปฏิบัติการแก่แกนนำสุขภาพประจำหมู่บ้าน ให้สามารถให้คำแนะนำและปฏิบัติการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ และโรคมะเร็งเต้านม ได้อย่างถูกต้อง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อค้นหาโรคมะเร็งในระยะก่อนเป็นมะเร็ง หรือเป็นมะเร็งระยะเริ่มแรก โดยมีระบบส่งต่อเพื่อการตรวจวินิจฉัยและการรักษาอย่างครบวงจร
1. ประชากรเพศชายและหญิง ที่มีอายุ 50-70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่
- 2. สตรีอายุ 30-70 ปี มีการตรวจมะเร็งเต้านมของตนเองเป็นประจำทุกเดือน และได้รับการการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมโดยเจ้าหน้าที่ ปีละ 1 ครั้ง
- 3. สตรีอายุ 30–60 ปี ได้รับตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกปีละครั้ง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องโรคมะเร็งที่สำคัญ (มะเร็งตับ, ปอด, ลำไส้ใหญ่, เต้านม และมะเร็งปากมดลูก)
- อบรมให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่, มะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก
- อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องโรคมะเร็งที่สำคัญ (มะเร็งตับ, ปอด, ลำไส้ใหญ่, เต้านม และมะเร็งปากมดลูก), สาธิตการตรวจอุจจาระค้นหาโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ การตรวจเต้านมด้วยตนเอง, การตรวจมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเอง แก่ แกนนำสุขภาพประจำหมู่บ้าน จำนวน 55 คน
- อบรมให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่, มะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก แก่ประชากร อายุ 30 – 70 ปี จำนวน 70 คน(เจ้าหน้าที่ 3 คน)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
122
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อค้นหาโรคมะเร็งในระยะก่อนเป็นมะเร็ง หรือเป็นมะเร็งระยะเริ่มแรก โดยมีระบบส่งต่อเพื่อการตรวจวินิจฉัยและการรักษาอย่างครบวงจร
1. ประชากรเพศชายและหญิง ที่มีอายุ 50-70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละของประชากรเพศชายและหญิง ที่มีอายุ
50-70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่
ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50
2
2. สตรีอายุ 30-70 ปี มีการตรวจมะเร็งเต้านมของตนเองเป็นประจำทุกเดือน และได้รับการการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมโดยเจ้าหน้าที่ ปีละ 1 ครั้ง
ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละของสตรีอายุ 30 - 70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมโดยเจ้าหน้าที่ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
3
3. สตรีอายุ 30–60 ปี ได้รับตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกปีละครั้ง
ตัวชี้วัด : 3.ร้อยละของสตรีอายุ 30 - 60 ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 30
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
122
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
122
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อค้นหาโรคมะเร็งในระยะก่อนเป็นมะเร็ง หรือเป็นมะเร็งระยะเริ่มแรก โดยมีระบบส่งต่อเพื่อการตรวจวินิจฉัยและการรักษาอย่างครบวงจร
1. ประชากรเพศชายและหญิง ที่มีอายุ 50-70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ (2) 2. สตรีอายุ 30-70 ปี มีการตรวจมะเร็งเต้านมของตนเองเป็นประจำทุกเดือน และได้รับการการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมโดยเจ้าหน้าที่ ปีละ 1 ครั้ง (3) 3. สตรีอายุ 30–60 ปี ได้รับตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกปีละครั้ง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องโรคมะเร็งที่สำคัญ (มะเร็งตับ, ปอด, ลำไส้ใหญ่, เต้านม และมะเร็งปากมดลูก) (2) อบรมให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่, มะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก (3) อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องโรคมะเร็งที่สำคัญ (มะเร็งตับ, ปอด, ลำไส้ใหญ่, เต้านม และมะเร็งปากมดลูก), สาธิตการตรวจอุจจาระค้นหาโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ การตรวจเต้านมด้วยตนเอง, การตรวจมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเอง แก่ แกนนำสุขภาพประจำหมู่บ้าน จำนวน 55 คน (4) อบรมให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่, มะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก แก่ประชากร อายุ 30 – 70 ปี จำนวน 70 คน(เจ้าหน้าที่ 3 คน)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรู้ไวใส่ใจปลอดภัยจากมะเร็งลำไส้ใหญ่, มะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนถบ จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3359-1-2
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางชะอ้น ส่งแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรู้ไวใส่ใจปลอดภัยจากมะเร็งลำไส้ใหญ่, มะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนถบ ”
ตำบลพญาขัน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางชะอ้น ส่งแก้ว
กรกฎาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลพญาขัน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3359-1-2 เลขที่ข้อตกลง 6/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรู้ไวใส่ใจปลอดภัยจากมะเร็งลำไส้ใหญ่, มะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนถบ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพญาขัน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพญาขัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรู้ไวใส่ใจปลอดภัยจากมะเร็งลำไส้ใหญ่, มะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนถบ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรู้ไวใส่ใจปลอดภัยจากมะเร็งลำไส้ใหญ่, มะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนถบ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพญาขัน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-L3359-1-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2568 - 31 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,910.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพญาขัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคมะเร็ง ถือเป็นสาเหตุอันดับต้นๆ ของการเสียชีวิตของประชากรไทย ตั้งแต่อดีตจวบจนถึงปัจจุบันและยังมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆอย่างต่อเนื่อง มะเร็งที่พบบ่อยมากที่สุดในคนไทย 5 อันดับ ประกอบด้วย มะเร็งตับและมะเร็งท่อน้ำดี, มะเร็งปอด, มะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก, มะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก (ข้อมูลปี 2563)
พบมะเร็งในชายไทย 5 ลำดับแรก คือ มะเร็งตับและท่อน้ำดี, มะเร็งปอด, มะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรง, มะเร็งต่อมลูกหมาก และมะเร็งต่อมน้ำเหลือง ส่วนโรคมะเร็งที่พบในหญิงไทย 5 ลำดับแรก คือมะเร็งเต้านม, มะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรง, มะเร็งตับและท่อน้ำดี, มะเร็งปอด และมะเร็งปากมดลูก ปัจจุบันมีการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งแต่ละชนิดที่แตกต่างกัน การตรวจหาเซลล์มะเร็งให้พบตั้งแต่อยู่ในระยะเริ่มแรกและในระยะก่อนเป็นมะเร็งซึ่งสามารถรักษาให้หายได้ และเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการรักษาในระยะลุกลาม
รพ.สต.บ้านควนถบ เห็นความสำคัญของการคัดกรองโรคมะเร็งที่สามารถค้นหาโรคมะเร็งตั้งแต่ระยะเริ่มแรก เพื่อการรักษาอย่างรวดเร็ว จึงได้จัดทำโครงการรู้ไวใส่ใจปลอดภัยจากมะเร็งลำไส้ใหญ่, มะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ปี 2568 ขึ้น วัตถุประสงค์เพื่อคัดกรองโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ โดยการตรวจเม็ดเลือดแดงที่แฝงในอุจจาระ ด้วยวิธี Fecal Immunochemical (FIT test) ในกลุ่มประชากรอายุ 50-70 ปี, คัดกรองโรคมะเร็งเต้านม ในสตรีอายุ 30-70 ปี โดยติดตามการตรวจเต้านมด้วยตนเองเป็นประจำอย่างสม่ำเสมอทุกเดือน และตรวจซ้ำโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
ปีละ 1 ครั้ง, คัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกในสตรีอายุ 30-60 ปี โดยการตรวจหาเซลล์มะเร็งด้วยการทำ Pap smear/ DNA test และการให้ความรู้ เรื่องโรคมะเร็ง และการป้องกันโรคมะเร็งชนิดต่างๆแก่กลุ่มเป้าหมาย และอบรมความรู้ เชิงปฏิบัติการแก่แกนนำสุขภาพประจำหมู่บ้าน ให้สามารถให้คำแนะนำและปฏิบัติการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ และโรคมะเร็งเต้านม ได้อย่างถูกต้อง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อค้นหาโรคมะเร็งในระยะก่อนเป็นมะเร็ง หรือเป็นมะเร็งระยะเริ่มแรก โดยมีระบบส่งต่อเพื่อการตรวจวินิจฉัยและการรักษาอย่างครบวงจร 1. ประชากรเพศชายและหญิง ที่มีอายุ 50-70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่
- 2. สตรีอายุ 30-70 ปี มีการตรวจมะเร็งเต้านมของตนเองเป็นประจำทุกเดือน และได้รับการการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมโดยเจ้าหน้าที่ ปีละ 1 ครั้ง
- 3. สตรีอายุ 30–60 ปี ได้รับตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกปีละครั้ง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องโรคมะเร็งที่สำคัญ (มะเร็งตับ, ปอด, ลำไส้ใหญ่, เต้านม และมะเร็งปากมดลูก)
- อบรมให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่, มะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก
- อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องโรคมะเร็งที่สำคัญ (มะเร็งตับ, ปอด, ลำไส้ใหญ่, เต้านม และมะเร็งปากมดลูก), สาธิตการตรวจอุจจาระค้นหาโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ การตรวจเต้านมด้วยตนเอง, การตรวจมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเอง แก่ แกนนำสุขภาพประจำหมู่บ้าน จำนวน 55 คน
- อบรมให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่, มะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก แก่ประชากร อายุ 30 – 70 ปี จำนวน 70 คน(เจ้าหน้าที่ 3 คน)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 122 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อค้นหาโรคมะเร็งในระยะก่อนเป็นมะเร็ง หรือเป็นมะเร็งระยะเริ่มแรก โดยมีระบบส่งต่อเพื่อการตรวจวินิจฉัยและการรักษาอย่างครบวงจร
1. ประชากรเพศชายและหญิง ที่มีอายุ 50-70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละของประชากรเพศชายและหญิง ที่มีอายุ 50-70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 |
|
|||
2 | 2. สตรีอายุ 30-70 ปี มีการตรวจมะเร็งเต้านมของตนเองเป็นประจำทุกเดือน และได้รับการการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมโดยเจ้าหน้าที่ ปีละ 1 ครั้ง ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละของสตรีอายุ 30 - 70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมโดยเจ้าหน้าที่ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 |
|
|||
3 | 3. สตรีอายุ 30–60 ปี ได้รับตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกปีละครั้ง ตัวชี้วัด : 3.ร้อยละของสตรีอายุ 30 - 60 ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 30 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 122 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 122 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อค้นหาโรคมะเร็งในระยะก่อนเป็นมะเร็ง หรือเป็นมะเร็งระยะเริ่มแรก โดยมีระบบส่งต่อเพื่อการตรวจวินิจฉัยและการรักษาอย่างครบวงจร
1. ประชากรเพศชายและหญิง ที่มีอายุ 50-70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ (2) 2. สตรีอายุ 30-70 ปี มีการตรวจมะเร็งเต้านมของตนเองเป็นประจำทุกเดือน และได้รับการการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมโดยเจ้าหน้าที่ ปีละ 1 ครั้ง (3) 3. สตรีอายุ 30–60 ปี ได้รับตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกปีละครั้ง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องโรคมะเร็งที่สำคัญ (มะเร็งตับ, ปอด, ลำไส้ใหญ่, เต้านม และมะเร็งปากมดลูก) (2) อบรมให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่, มะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก (3) อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องโรคมะเร็งที่สำคัญ (มะเร็งตับ, ปอด, ลำไส้ใหญ่, เต้านม และมะเร็งปากมดลูก), สาธิตการตรวจอุจจาระค้นหาโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ การตรวจเต้านมด้วยตนเอง, การตรวจมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเอง แก่ แกนนำสุขภาพประจำหมู่บ้าน จำนวน 55 คน (4) อบรมให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่, มะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก แก่ประชากร อายุ 30 – 70 ปี จำนวน 70 คน(เจ้าหน้าที่ 3 คน)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรู้ไวใส่ใจปลอดภัยจากมะเร็งลำไส้ใหญ่, มะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนถบ จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3359-1-2
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางชะอ้น ส่งแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......