โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตำบลลิปะสะโง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตำบลลิปะสะโง ”
ตำบลลิปะสะโง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวมารีเยาะ ปูเตะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลิปะสะโง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตำบลลิปะสะโง
ที่อยู่ ตำบลลิปะสะโง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3071-2-2 เลขที่ข้อตกลง 6/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตำบลลิปะสะโง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลิปะสะโง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลิปะสะโง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตำบลลิปะสะโง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตำบลลิปะสะโง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลิปะสะโง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3071-2-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,270.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลิปะสะโง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การเพิ่มขึ้นของประชากรที่มีน้ำาหนักเกินเกณฑ์ หรือเรียกว่าอ้วน และอายุที่มากขึ้น นามาซึ่งการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง คาดว่าความชุก ของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงจะเพิ่มสูงขึ้นถึง 5.3 ล้านคนภายในปี พ.ศ. 2583 ซึ่งโรคเบาหวานที่ดูแลรักษาได้ไม่ดีอาจท าให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่ส่งผล เสียต่อร่างกาย เช่น โรคไต และการถูกตัดเท้าหรือขา โรคติดต่อเคยเป็นสาเหตุหลัก
ของการเสียชีวิต และทุพพลภาพทั่วโลก แต่เมื่อไม่นานมานี้ กลุ่มโรค ไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ก าลังจะกลายเป็น
สาเหตุหลัก มากกว่าร้อยละ 70 ของการเสียชีวิตทั้งหมดในประเทศไทย มีสาเหตุมาจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง รวมถึงเบาหวาน ในปี 2563 พบว่ามีการเสียชีวิตที่สัมพันธ์กับโรคเบาหวาน เป็นจำนวน ประมาณ 76,000 ราย หรือมากกว่า 200 รายในแต่ละวัน ในประเทศไทยคาดว่ามีเพียงร้อยละ 57 ของผู้ที่เป็นโรคเบาหวานได้รับ การวินิจฉัย ซึ่งส่วนใหญ่ ของผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยจะได้รับการรักษามีเพียงร้อยละ 35.6 ของผู้ที่ได้รับการรักษา
ปัจจุบันเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อการดำเนินชีวิต ของประชาชน ประชาชนมีการแข่งขันสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัว นิยมวัฒนธรรมตะวันตกมากขึ้น จึงทำ ให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง เช่น การเร่งรีบกับการทำงาน บริโภคอาหารโดยไม่ได้คำนึงถึงคุณค่าทาง โภชนาการ มีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง ขาดการออกกำลังกาย เครียด ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข เป็นกลุ่มโรคที่มีปัจจัยสาเหตุ การนำสู่โรคจากปัจจัยเสี่ยงร่วม และเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ซึ่งโรคนี้สามารถป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยน พฤติกรรม เช่น การรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ และมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม
จากการดำเนินงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำลบลิปะสะโง ในปีงบประมาณ 2567 พบว่าโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลิปะสะโง มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิต จำนวน 244 คน ผู้ป่วย เบาหวาน จำนวน 94 คน ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน ...64....ราย .ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ 120 คน คิดเป็นร้อยละ 49.18 ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลใน เลือดได้ 17 คน คิดเป็นร้อยละ 18.09 และจากการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุ่ม ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน ...1,252.....คน พบว่ามีกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน 114 คน คิดเป็นร้อยละ 6.18 และมีผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ จำนวน 2 คน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ จำนวน …4 คน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลิปะสะโง ได้เล็งเห็นปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำ “โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ 2568” ขึ้น เพื่อลดอัตราป่วย ตาย ด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงมีความรู้ และมีพฤติกรรมที่ถูกต้องใน การป้องกันโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง
- เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง มีความรู้ และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้อย่างเหมาะสม และไม่มีภาวะแทรกซ้อน ทางไต ตา และเท้า
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมชี้แจง
- กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง
- ติดตามกลุ่มเสี่ยง
- ชี้แจงกิจกรรมโครงการให้กับอาสาสมัครสาธารสุณสุขเรื่องโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
- ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
- ติดตามกลุ่มเสี่ยงความดัน และเบาหวานประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปโดย.อสม.
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีอายุ 35 ปี มีภาวะเสี่ยงต่อโรคความดัน ค่าความดันโลหิตสูงมีค่าความดันและค่าน้ำตาลในเลือด อยู่ในเกณฑ์ปกติ
2.กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีอายุ 35 ปี มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ได้รับการติดตามทุกราย
3.ลดอัตราการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง รายใหม่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงมีความรู้ และมีพฤติกรรมที่ถูกต้องใน การป้องกันโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ และมีพฤติกรรมที่ถูกต้องใน การป้องกันโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง
50.00
2
เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง มีความรู้ และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้อย่างเหมาะสม และไม่มีภาวะแทรกซ้อน ทางไต ตา และเท้า
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง มีความรู้ และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้อย่างเหมาะสม และไม่มีภาวะแทรกซ้อน ทางไต ตา และเท้า
50.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงมีความรู้ และมีพฤติกรรมที่ถูกต้องใน การป้องกันโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง (2) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง มีความรู้ และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้อย่างเหมาะสม และไม่มีภาวะแทรกซ้อน ทางไต ตา และเท้า
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจง (2) กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง (3) ติดตามกลุ่มเสี่ยง (4) ชี้แจงกิจกรรมโครงการให้กับอาสาสมัครสาธารสุณสุขเรื่องโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน (5) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง (6) ติดตามกลุ่มเสี่ยงความดัน และเบาหวานประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปโดย.อสม.
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตำบลลิปะสะโง จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3071-2-2
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวมารีเยาะ ปูเตะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตำบลลิปะสะโง ”
ตำบลลิปะสะโง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวมารีเยาะ ปูเตะ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลลิปะสะโง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3071-2-2 เลขที่ข้อตกลง 6/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตำบลลิปะสะโง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลิปะสะโง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลิปะสะโง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตำบลลิปะสะโง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตำบลลิปะสะโง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลิปะสะโง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3071-2-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,270.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลิปะสะโง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การเพิ่มขึ้นของประชากรที่มีน้ำาหนักเกินเกณฑ์ หรือเรียกว่าอ้วน และอายุที่มากขึ้น นามาซึ่งการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง คาดว่าความชุก ของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงจะเพิ่มสูงขึ้นถึง 5.3 ล้านคนภายในปี พ.ศ. 2583 ซึ่งโรคเบาหวานที่ดูแลรักษาได้ไม่ดีอาจท าให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่ส่งผล เสียต่อร่างกาย เช่น โรคไต และการถูกตัดเท้าหรือขา โรคติดต่อเคยเป็นสาเหตุหลัก ของการเสียชีวิต และทุพพลภาพทั่วโลก แต่เมื่อไม่นานมานี้ กลุ่มโรค ไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ก าลังจะกลายเป็น สาเหตุหลัก มากกว่าร้อยละ 70 ของการเสียชีวิตทั้งหมดในประเทศไทย มีสาเหตุมาจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง รวมถึงเบาหวาน ในปี 2563 พบว่ามีการเสียชีวิตที่สัมพันธ์กับโรคเบาหวาน เป็นจำนวน ประมาณ 76,000 ราย หรือมากกว่า 200 รายในแต่ละวัน ในประเทศไทยคาดว่ามีเพียงร้อยละ 57 ของผู้ที่เป็นโรคเบาหวานได้รับ การวินิจฉัย ซึ่งส่วนใหญ่ ของผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยจะได้รับการรักษามีเพียงร้อยละ 35.6 ของผู้ที่ได้รับการรักษา ปัจจุบันเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อการดำเนินชีวิต ของประชาชน ประชาชนมีการแข่งขันสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัว นิยมวัฒนธรรมตะวันตกมากขึ้น จึงทำ ให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง เช่น การเร่งรีบกับการทำงาน บริโภคอาหารโดยไม่ได้คำนึงถึงคุณค่าทาง โภชนาการ มีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง ขาดการออกกำลังกาย เครียด ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข เป็นกลุ่มโรคที่มีปัจจัยสาเหตุ การนำสู่โรคจากปัจจัยเสี่ยงร่วม และเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ซึ่งโรคนี้สามารถป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยน พฤติกรรม เช่น การรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ และมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม จากการดำเนินงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำลบลิปะสะโง ในปีงบประมาณ 2567 พบว่าโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลิปะสะโง มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิต จำนวน 244 คน ผู้ป่วย เบาหวาน จำนวน 94 คน ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน ...64....ราย .ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ 120 คน คิดเป็นร้อยละ 49.18 ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลใน เลือดได้ 17 คน คิดเป็นร้อยละ 18.09 และจากการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุ่ม ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน ...1,252.....คน พบว่ามีกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน 114 คน คิดเป็นร้อยละ 6.18 และมีผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ จำนวน 2 คน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ จำนวน …4 คน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลิปะสะโง ได้เล็งเห็นปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำ “โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ 2568” ขึ้น เพื่อลดอัตราป่วย ตาย ด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงมีความรู้ และมีพฤติกรรมที่ถูกต้องใน การป้องกันโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง
- เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง มีความรู้ และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้อย่างเหมาะสม และไม่มีภาวะแทรกซ้อน ทางไต ตา และเท้า
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมชี้แจง
- กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง
- ติดตามกลุ่มเสี่ยง
- ชี้แจงกิจกรรมโครงการให้กับอาสาสมัครสาธารสุณสุขเรื่องโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
- ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
- ติดตามกลุ่มเสี่ยงความดัน และเบาหวานประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปโดย.อสม.
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีอายุ 35 ปี มีภาวะเสี่ยงต่อโรคความดัน ค่าความดันโลหิตสูงมีค่าความดันและค่าน้ำตาลในเลือด อยู่ในเกณฑ์ปกติ 2.กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีอายุ 35 ปี มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ได้รับการติดตามทุกราย 3.ลดอัตราการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง รายใหม่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงมีความรู้ และมีพฤติกรรมที่ถูกต้องใน การป้องกันโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัด : ร้อยละของกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ และมีพฤติกรรมที่ถูกต้องใน การป้องกันโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง |
50.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง มีความรู้ และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้อย่างเหมาะสม และไม่มีภาวะแทรกซ้อน ทางไต ตา และเท้า ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง มีความรู้ และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้อย่างเหมาะสม และไม่มีภาวะแทรกซ้อน ทางไต ตา และเท้า |
50.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงมีความรู้ และมีพฤติกรรมที่ถูกต้องใน การป้องกันโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง (2) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง มีความรู้ และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้อย่างเหมาะสม และไม่มีภาวะแทรกซ้อน ทางไต ตา และเท้า
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจง (2) กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง (3) ติดตามกลุ่มเสี่ยง (4) ชี้แจงกิจกรรมโครงการให้กับอาสาสมัครสาธารสุณสุขเรื่องโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน (5) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง (6) ติดตามกลุ่มเสี่ยงความดัน และเบาหวานประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปโดย.อสม.
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตำบลลิปะสะโง จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3071-2-2
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวมารีเยาะ ปูเตะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......