ลด ละ เลิก ยาเสพติดเพื่อคนรัก
ชื่อโครงการ | ลด ละ เลิก ยาเสพติดเพื่อคนรัก |
รหัสโครงการ | 2568-L4135-02-05 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมรักษ์ หมู่ที่ 9 ตำบลบุดี |
วันที่อนุมัติ | 5 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 31 สิงหาคม 2568 |
งบประมาณ | 21,414.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายอิสมะแอ นิเซ็ง |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 40 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ด้วยปัจจุบันสถานการณ์การเผยแพร่ระบาดของยาเสพติด ยังคงมีขึ้นอย่างต่อเนื่องในพื้นที่ โดยเฉพาะในกลุ่มวัยรุ่น ทั้งเกิดจากความตั้งใจ และเกิดจากการหลงผิดโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ และยังมีปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ที่จะทำให้เด็กและเยาวชน มีโอกาสเข้าไปติดยาเสพติดเพิ่มมากขึ้นอีก เช่น เด็กและเยาวชน เป็นที่ต้องการเรียนรู้อยากลอง ต้องการเรียกร้องความสนใจ การสร้างการยอมรับ กล้าทำในสิ่งที่ท้าทาย การชักจูง และการหลอกลวง เป็นต้น ดังนั้น เด็ก เยาวชนและครอบครัว จำเป็นต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่อย่างเพียงพอ ต้องได้รับการถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและการรู้โทษที่ร้ายแรงของสิ่งเสพติดอย่างเหมาะสม
ทางชมรมรักษ์ หมู่ที่ 9 มีความจำเป็นที่จะหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดไม่ให้เกิดขึ้นในหมู่บ้าน เพื่อเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเด็ก เยาวชน และครอบครัว ส่งเสริมกิจกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม จึงได้จัดทำโครงการลด ละ เลิก ยาเสพติดเพื่อคนรัก ขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1 เพื่อรณรงค์สร้างจิตสำนึกให้ผู้เข้าร่วมอบรมตระหนักถึงพิษภัย และโทษของยาเสพติด มีสุขภาพดี รู้จักดูแลสุขภาพของตนเอง รู้จักป้องกันการเกิดต่างๆ ผู้เข้ารับการอบรมจะเป็นผู้มีส่วนร่วมรณรงค์ให้เยาวชนและประชาชนในพื้นที่ตำบลบุดีทราบถึงปัญหาพิษภัยของยาเสพติด ร้อยละ 80 |
1.00 | 1.00 |
2 | ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจและมีส่วนร่วมในกิจกรรม นำไปสู่การปฏิบัติ การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด สำหรับตนเองและชุมชน ผู้เข้ารับการอบรมสามารถเป็นแกนนำในการป้องกันและต่อต้านการแพร่ระบาดของยาเสพติดในสถานศึกษา หมู่บ้าน และชุมชน ร้อยละ 90 |
1.00 | 1.00 |
3 | ข้อที่ 3 เพื่อเสริมสร้างภาวะผู้นำ เป็นหนึ่งไม่พึ่งยาเสพติด กล้าแสดงออก การรู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ประกอบด้วยสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดีแก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม เกิดการรวมกลุ่มเพื่อประโยชน์ต่อตนเอง ร้อยละ 60 |
1.00 | 1.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 21,414.00 | 0 | 0.00 | |
1 ก.พ. 68 - 31 ส.ค. 68 | 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่อง โทษของยาเสพติดและภัยสังคม 2. กิจกรรมกลุ่มย่อยระดมความคิดเสนอปัญหา หาทางออกและแนวทางแก้ไข จากปัญหาสังคมและปัญหายาเสพติด การทำงานเป็นทีม การเข้าสังคม การแสดงความคิดเห็น ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น กล้าคิด กล้าทำ กล้าแสดงออ | 0 | 21,414.00 | - |
- ผู้เข้าร่วมการอบรมสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิต ทักษะทางความคิด สร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกายจิตใจ ไม่ตกเป็นทาสของอบายมุข และปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีด้วยวิถีแห่งหลักธรรม
- เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจถึงโทษของยาเสพติดและภัยสังคม
- ผู้เข้ารับการอบรมสามารถเป็นแกนนำในการป้องกันและต่อต้านการแพร่ระบาดของยาเสพติดในสถานศึกษา หมู่บ้าน และชุมชน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 ก.พ. 2568 00:00 น.