โครงการแกนนำตำบลจวบสุขภาพดี ร่วมสร้างวิถีชุมชนลดโรคNCDs
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการแกนนำตำบลจวบสุขภาพดี ร่วมสร้างวิถีชุมชนลดโรคNCDs ”
ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นูรฮาซานี ตาเล๊ะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการแกนนำตำบลจวบสุขภาพดี ร่วมสร้างวิถีชุมชนลดโรคNCDs
ที่อยู่ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L8422-010-3 เลขที่ข้อตกลง 68-L8422-01-03
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแกนนำตำบลจวบสุขภาพดี ร่วมสร้างวิถีชุมชนลดโรคNCDs จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแกนนำตำบลจวบสุขภาพดี ร่วมสร้างวิถีชุมชนลดโรคNCDs
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแกนนำตำบลจวบสุขภาพดี ร่วมสร้างวิถีชุมชนลดโรคNCDs " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L8422-010-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นปัญหาสุขภาพอันดับหนึ่งของโลกและของประเทศไทย ทั้งในมิติของจำนวน การเสียชีวิตและภาระโรคโดยรวม สถานการณ์โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง สาเหตุส่วนใหญ่ของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมาจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทาง สรีรวิทยา เช่น ภาวะอ้วน ระดับน้ำตาลในเลือดสูง ระดับไขมันในเลือดสูง และระดับความดันโลหิตสูง นำไปสู่การเกิดโรค ถ้าหากไม่ให้ความสำคัญกับการจัดการปัจจัยเสี่ยงและควบคุมสภาวะโรคอาจก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงได้ ส่วนสำคัญในการจัดการปัญหาสุขภาพดังกล่าว คือ การพัฒนาคุณภาพบริการของสถานบริการสาธารณสุขเพื่อจัดการ ปัญหาจากโรคไม่ติดต่อ และสนับสนุนให้เครือข่ายสุขภาพและชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพทั้งกลุ่มเสี่ยง และกลุ่ม ป่วยโรคไม่ติดต่ออำเภอเจาะไอร้องสถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง พบแนวโน้มสูงขึ้นเช่นเดียวกัน จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ตั้งแต่ ปี 2563-2567พบ 310, 362, 279, 323 ราย และ 291 ราย ตามลำดับ และ จำนวนผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ตั้งแต่ ปี 2563-2567 พบ 121 ราย ,161 ราย ,144 ราย , 152 และ155 ราย ตามลำดับ (ข้อมูล HDC จังหวัดนราธิวาส)
โรงพยาบาลเจาะไอร้อง มีการดำเนินงานควบคุมและป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมาต่อเนื่องทุกปี ตั้งแต่การคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ซึ่งเดิมเริ่มคัดกรองในกลุ่มประชาชน 35 ปีขึ้นไป แต่ด้วยสถานการณ์แนวโน้มปัจจุบันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเริ่มมีในกลุ่มอายุที่น้อยลง จึงเริ่มดำเนินการคัดกรองในกลุ่มประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป มีการคืนข้อมูลการคัดกรอง และติดตามการปรับพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย แต่ผลการดำเนินงาน ประชากรกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยยังไม่ลดลง แนวโน้มสูงขึ้นด้วย เมื่อมีการมีการวิเคราะห์ข้อมูลร่วมกันระหว่างเครือข่ายบริการสุขภาพและชุมชน พบว่าจากการสนับสนุนเครือข่ายในชุมชน พบผู้นำชุมชนหรือแกนนำชุมชน ยังขาดความรู้ความเข้าใจในการสื่อสารบอกต่อ และไม่สามารถเป็นแกนนำด้านการปรับพฤติกรรมสุขภาพได้ ส่งผลการร่วมสร้างนโยบายสาธารณะที่เอื้อประโยชน์ต่อสุขภาพของคนในชุมชนยังไม่ชัดเจน สิ่งแวดล้อมในชุมชนยังเอื้อต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ดังนั้น กลุ่มงานบริการด้นปฐมภูมิและองค์รวมโรงพยาบาลเจาะไอร้อง จึงสนใจจัดทำโครงการแกนนำตำบลจวบสุขภาพดี ร่วมสร้างวิถีชุมชนลดโรคNCDs เพื่อส่งเสริมการรับรู้สุขภาพตนเอง การปรับพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และสามารถเป็นแกนนำด้านสุขภาพในชุมชน ส่งผลสามารถบอกต่อ สนับสนุนติดตาม รวมถึงการร่วมสร้างสิ่งแวดล้อมยังเอื้อต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จนเกิดนโยบายสาธารณะที่เอื้อประโยชน์ต่อสุขภาพของคนในชุมชนอย่างยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ครูอนามัยโรงเรียน อสม.และผู้นำชุมชน เขตตำบลจวบ ได้รับการคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง รับทราบผลการคัดกรองสุขภาพ และสามารถปรับพฤติกรรมสุขภาพได้เหมาะสม
- ครูอนามัยโรงเรียน อสม.และผู้นำชุมชน เขตตำบลจวบ มีความรู้ในการดูแลตนเอง เพื่อป้องกันการเกิดโรคNCDs หรือภาวะแทรกซ้อนจากโรค NCDs และสามารถสื่อสารบอกต่อคนอื่นได้
- 3.อสม.เขตตำบลจวบ มีความรู้และทักษะการคัดกรองโรคNCDs เบื้องต้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- Work Shop การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) แบ่งเป็น 3 กลุ่ม
- พัฒนาทักษะอสม. ต.จวบ จำนวน 115 คน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
100
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- แกนนำรับรู้ และสามารถดูแลตัวเองเพื่อป้องกันการเกิดโรค NCDs หรือภาวะแทรกซ้อนจากโรค NCDs
- แกนนำสามารถสื่อสารความรู้ให้ชุมชนหรือคนในความปกครองเกี่ยวกับการดูแลตนเองเพื่อป้องกันการเกิดโรค NCDs หรือภาวะแทรกซ้อนจากโรค NCDs
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ครูอนามัยโรงเรียน อสม.และผู้นำชุมชน เขตตำบลจวบ ได้รับการคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง รับทราบผลการคัดกรองสุขภาพ และสามารถปรับพฤติกรรมสุขภาพได้เหมาะสม
ตัวชี้วัด : ครูอนามัยโรงเรียน อสม.และผู้นำชุมชน เขตตำบลจวบ เข้าร่วมโครงการมากกว่าร้อยละ 90
0.00
2
ครูอนามัยโรงเรียน อสม.และผู้นำชุมชน เขตตำบลจวบ มีความรู้ในการดูแลตนเอง เพื่อป้องกันการเกิดโรคNCDs หรือภาวะแทรกซ้อนจากโรค NCDs และสามารถสื่อสารบอกต่อคนอื่นได้
ตัวชี้วัด : อัตรากลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย และการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย ของผู้เข้าร่วมโครงการลดลงหลังจากเข้าร่วมโครงการ อย่างน้อย ร้อยละ 5
0.00
3
3.อสม.เขตตำบลจวบ มีความรู้และทักษะการคัดกรองโรคNCDs เบื้องต้น
ตัวชี้วัด : อสม.เขตตำบลจวบ ผ่านการสอบทักษะการคัดกรองโรคNCDs เบื้องต้น ร้อยละ 100
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
100
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ครูอนามัยโรงเรียน อสม.และผู้นำชุมชน เขตตำบลจวบ ได้รับการคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง รับทราบผลการคัดกรองสุขภาพ และสามารถปรับพฤติกรรมสุขภาพได้เหมาะสม (2) ครูอนามัยโรงเรียน อสม.และผู้นำชุมชน เขตตำบลจวบ มีความรู้ในการดูแลตนเอง เพื่อป้องกันการเกิดโรคNCDs หรือภาวะแทรกซ้อนจากโรค NCDs และสามารถสื่อสารบอกต่อคนอื่นได้ (3) 3.อสม.เขตตำบลจวบ มีความรู้และทักษะการคัดกรองโรคNCDs เบื้องต้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) Work Shop การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) แบ่งเป็น 3 กลุ่ม (2) พัฒนาทักษะอสม. ต.จวบ จำนวน 115 คน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการแกนนำตำบลจวบสุขภาพดี ร่วมสร้างวิถีชุมชนลดโรคNCDs จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L8422-010-3
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นูรฮาซานี ตาเล๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการแกนนำตำบลจวบสุขภาพดี ร่วมสร้างวิถีชุมชนลดโรคNCDs ”
ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นูรฮาซานี ตาเล๊ะ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L8422-010-3 เลขที่ข้อตกลง 68-L8422-01-03
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแกนนำตำบลจวบสุขภาพดี ร่วมสร้างวิถีชุมชนลดโรคNCDs จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแกนนำตำบลจวบสุขภาพดี ร่วมสร้างวิถีชุมชนลดโรคNCDs
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแกนนำตำบลจวบสุขภาพดี ร่วมสร้างวิถีชุมชนลดโรคNCDs " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L8422-010-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นปัญหาสุขภาพอันดับหนึ่งของโลกและของประเทศไทย ทั้งในมิติของจำนวน การเสียชีวิตและภาระโรคโดยรวม สถานการณ์โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง สาเหตุส่วนใหญ่ของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมาจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทาง สรีรวิทยา เช่น ภาวะอ้วน ระดับน้ำตาลในเลือดสูง ระดับไขมันในเลือดสูง และระดับความดันโลหิตสูง นำไปสู่การเกิดโรค ถ้าหากไม่ให้ความสำคัญกับการจัดการปัจจัยเสี่ยงและควบคุมสภาวะโรคอาจก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงได้ ส่วนสำคัญในการจัดการปัญหาสุขภาพดังกล่าว คือ การพัฒนาคุณภาพบริการของสถานบริการสาธารณสุขเพื่อจัดการ ปัญหาจากโรคไม่ติดต่อ และสนับสนุนให้เครือข่ายสุขภาพและชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพทั้งกลุ่มเสี่ยง และกลุ่ม ป่วยโรคไม่ติดต่ออำเภอเจาะไอร้องสถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง พบแนวโน้มสูงขึ้นเช่นเดียวกัน จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ตั้งแต่ ปี 2563-2567พบ 310, 362, 279, 323 ราย และ 291 ราย ตามลำดับ และ จำนวนผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ตั้งแต่ ปี 2563-2567 พบ 121 ราย ,161 ราย ,144 ราย , 152 และ155 ราย ตามลำดับ (ข้อมูล HDC จังหวัดนราธิวาส) โรงพยาบาลเจาะไอร้อง มีการดำเนินงานควบคุมและป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมาต่อเนื่องทุกปี ตั้งแต่การคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ซึ่งเดิมเริ่มคัดกรองในกลุ่มประชาชน 35 ปีขึ้นไป แต่ด้วยสถานการณ์แนวโน้มปัจจุบันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเริ่มมีในกลุ่มอายุที่น้อยลง จึงเริ่มดำเนินการคัดกรองในกลุ่มประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป มีการคืนข้อมูลการคัดกรอง และติดตามการปรับพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย แต่ผลการดำเนินงาน ประชากรกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยยังไม่ลดลง แนวโน้มสูงขึ้นด้วย เมื่อมีการมีการวิเคราะห์ข้อมูลร่วมกันระหว่างเครือข่ายบริการสุขภาพและชุมชน พบว่าจากการสนับสนุนเครือข่ายในชุมชน พบผู้นำชุมชนหรือแกนนำชุมชน ยังขาดความรู้ความเข้าใจในการสื่อสารบอกต่อ และไม่สามารถเป็นแกนนำด้านการปรับพฤติกรรมสุขภาพได้ ส่งผลการร่วมสร้างนโยบายสาธารณะที่เอื้อประโยชน์ต่อสุขภาพของคนในชุมชนยังไม่ชัดเจน สิ่งแวดล้อมในชุมชนยังเอื้อต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ดังนั้น กลุ่มงานบริการด้นปฐมภูมิและองค์รวมโรงพยาบาลเจาะไอร้อง จึงสนใจจัดทำโครงการแกนนำตำบลจวบสุขภาพดี ร่วมสร้างวิถีชุมชนลดโรคNCDs เพื่อส่งเสริมการรับรู้สุขภาพตนเอง การปรับพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และสามารถเป็นแกนนำด้านสุขภาพในชุมชน ส่งผลสามารถบอกต่อ สนับสนุนติดตาม รวมถึงการร่วมสร้างสิ่งแวดล้อมยังเอื้อต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จนเกิดนโยบายสาธารณะที่เอื้อประโยชน์ต่อสุขภาพของคนในชุมชนอย่างยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ครูอนามัยโรงเรียน อสม.และผู้นำชุมชน เขตตำบลจวบ ได้รับการคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง รับทราบผลการคัดกรองสุขภาพ และสามารถปรับพฤติกรรมสุขภาพได้เหมาะสม
- ครูอนามัยโรงเรียน อสม.และผู้นำชุมชน เขตตำบลจวบ มีความรู้ในการดูแลตนเอง เพื่อป้องกันการเกิดโรคNCDs หรือภาวะแทรกซ้อนจากโรค NCDs และสามารถสื่อสารบอกต่อคนอื่นได้
- 3.อสม.เขตตำบลจวบ มีความรู้และทักษะการคัดกรองโรคNCDs เบื้องต้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- Work Shop การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) แบ่งเป็น 3 กลุ่ม
- พัฒนาทักษะอสม. ต.จวบ จำนวน 115 คน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 100 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- แกนนำรับรู้ และสามารถดูแลตัวเองเพื่อป้องกันการเกิดโรค NCDs หรือภาวะแทรกซ้อนจากโรค NCDs
- แกนนำสามารถสื่อสารความรู้ให้ชุมชนหรือคนในความปกครองเกี่ยวกับการดูแลตนเองเพื่อป้องกันการเกิดโรค NCDs หรือภาวะแทรกซ้อนจากโรค NCDs
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ครูอนามัยโรงเรียน อสม.และผู้นำชุมชน เขตตำบลจวบ ได้รับการคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง รับทราบผลการคัดกรองสุขภาพ และสามารถปรับพฤติกรรมสุขภาพได้เหมาะสม ตัวชี้วัด : ครูอนามัยโรงเรียน อสม.และผู้นำชุมชน เขตตำบลจวบ เข้าร่วมโครงการมากกว่าร้อยละ 90 |
0.00 |
|
||
2 | ครูอนามัยโรงเรียน อสม.และผู้นำชุมชน เขตตำบลจวบ มีความรู้ในการดูแลตนเอง เพื่อป้องกันการเกิดโรคNCDs หรือภาวะแทรกซ้อนจากโรค NCDs และสามารถสื่อสารบอกต่อคนอื่นได้ ตัวชี้วัด : อัตรากลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย และการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย ของผู้เข้าร่วมโครงการลดลงหลังจากเข้าร่วมโครงการ อย่างน้อย ร้อยละ 5 |
0.00 |
|
||
3 | 3.อสม.เขตตำบลจวบ มีความรู้และทักษะการคัดกรองโรคNCDs เบื้องต้น ตัวชี้วัด : อสม.เขตตำบลจวบ ผ่านการสอบทักษะการคัดกรองโรคNCDs เบื้องต้น ร้อยละ 100 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 100 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 0 | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ครูอนามัยโรงเรียน อสม.และผู้นำชุมชน เขตตำบลจวบ ได้รับการคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง รับทราบผลการคัดกรองสุขภาพ และสามารถปรับพฤติกรรมสุขภาพได้เหมาะสม (2) ครูอนามัยโรงเรียน อสม.และผู้นำชุมชน เขตตำบลจวบ มีความรู้ในการดูแลตนเอง เพื่อป้องกันการเกิดโรคNCDs หรือภาวะแทรกซ้อนจากโรค NCDs และสามารถสื่อสารบอกต่อคนอื่นได้ (3) 3.อสม.เขตตำบลจวบ มีความรู้และทักษะการคัดกรองโรคNCDs เบื้องต้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) Work Shop การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) แบ่งเป็น 3 กลุ่ม (2) พัฒนาทักษะอสม. ต.จวบ จำนวน 115 คน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการแกนนำตำบลจวบสุขภาพดี ร่วมสร้างวิถีชุมชนลดโรคNCDs จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L8422-010-3
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นูรฮาซานี ตาเล๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......