โครงการชุมชนคลองปางร่วมใจ สานพลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรค ลดพุง ลดเสี่ยง ห่างไกลโรคเรื้อรัง ปราศจากภาวะแทรกซ้อน ปีงบ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการชุมชนคลองปางร่วมใจ สานพลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรค ลดพุง ลดเสี่ยง ห่างไกลโรคเรื้อรัง ปราศจากภาวะแทรกซ้อน ปีงบ 2568 ”
ตำบลคลองปาง อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายชวลิตร คีรีรัตน์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองปาง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการชุมชนคลองปางร่วมใจ สานพลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรค ลดพุง ลดเสี่ยง ห่างไกลโรคเรื้อรัง ปราศจากภาวะแทรกซ้อน ปีงบ 2568
ที่อยู่ ตำบลคลองปาง อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1512-01-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชุมชนคลองปางร่วมใจ สานพลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรค ลดพุง ลดเสี่ยง ห่างไกลโรคเรื้อรัง ปราศจากภาวะแทรกซ้อน ปีงบ 2568 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองปาง อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองปาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนคลองปางร่วมใจ สานพลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรค ลดพุง ลดเสี่ยง ห่างไกลโรคเรื้อรัง ปราศจากภาวะแทรกซ้อน ปีงบ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชุมชนคลองปางร่วมใจ สานพลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรค ลดพุง ลดเสี่ยง ห่างไกลโรคเรื้อรัง ปราศจากภาวะแทรกซ้อน ปีงบ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองปาง อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1512-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองปาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตของประชาชนส่วนใหญ่ ไม่ว่าจะเป็นการแข่งขันสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัว ค่านิยมวัฒนธรรมตะวันตก ที่ทำให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง เช่น การเร่งรีบกับการทำงาน การแข่งขันทางธุรกิจ การบริโภคอาหารโดยไม่คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการ การเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง ขาดการออกกำลังกาย ความเครียด สิ่งเหล่านี้เป็นปัจจัยทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง หากเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเหล่านี้ จะนำมาสู่การเสียชีวิตก่อนวัยอันควรได้ ซึ่งโรคเหล่านี้สามารถป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เช่น การรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ การจัดการด้านอารมณ์ การผ่อนคลายความเครียด และการมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม
โดยจากผลการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในกลุ่มประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปในเขตตำบลคลองปาง ซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองปาง ปีงบประมาณ ๒๕๖8 พบว่า มีกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 129 ราย จากประชากรกลุ่มเป้าหมาย 1,226 ราย คิดเป็นร้อยละ 10.52 และพบกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวาน จำนวน 208 ราย จากประชากรกลุ่มเป้าหมาย 1,430 ราย คิดเป็นร้อยละ 14.55 นอกจากนี้กลุ่มป่วยที่รับยาที่โรงพยาบาลรัษฎาและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองปาง ตั้งแต่ปี ๒๕๖2-๒๕๖7 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ และจากการติดตามวัดความดันซ้ำในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยต่อเนื่อง ๗ วัน โดยอสม.ในพื้นที่ พบว่า กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงบางรายยังไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้อย่างสม่ำเสมอ เนื่องจากขาดความรู้เรื่องการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ซึ่งจะส่งผลกระทบให้เกิดผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้น
ดังนั้น ทางเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองปาง จึงได้เล็งเห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพประชาชนในชุมชน จึงได้จัดโครงการชุมชนคลองปางร่วมใจ สานพลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรค ลดพุง ลดเสี่ยง ห่างไกลโรคเรื้อรัง ปราศจากภาวะแทรกซ้อน ปีงบ 2568 เพื่อสร้างการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบยั่งยืน สร้างแกนนำสุขภาพ ลดการเกิดผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่ ป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่เป็นสาเหตุสำคัญในการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนตำบลคลองปางที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
- เพื่อสร้างแกนนำต้นแบบของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่ประชาชนตำบลคลองปาง
- .เพื่อสร้างความตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ แบบยั่งยืน
- เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังรายใหม่ และป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของผู้ป่วยรายเก่า
- .เพื่อนำความรู้เรื่องแพทย์ทางเลือกมาใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้แก่ประชาชนเขตตำบลคลองปาง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนตำบลคลองปางที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
2.สร้างแกนนำต้นแบบของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่ประชาชนตำบลคลองปาง
3.สร้างความตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ แบบยั่งยืน
4.ลดอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังรายใหม่ และป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของผู้ป่วยรายเก่า
5.นำความรู้เรื่องแพทย์ทางเลือกมาใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้แก่ประชาชนเขตตำบลคลองปาง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ประชาชนตำบลคลองปางที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ประชาชน มีความรู้ เรื่อง การดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
2
เพื่อสร้างแกนนำต้นแบบของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่ประชาชนตำบลคลองปาง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของ ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยประเมินจากภาวะสุขภาพโดยรวม ก่อนและหลังอบรม (สามารถเป็นบุคคลต้นแบบเรื่อง การดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง)
3
.เพื่อสร้างความตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ แบบยั่งยืน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง /ประชาชนกลุ่มเสี่ยง /ประชาชนกลุ่มสงสัยป่วย /ประชาชนที่มีภาวะอ้วนลงพุง ที่เข้าร่วมโครงการสามารถลดระดับความดันโลหิต ระดับน้ำตาลในเลือด ระดับ BMI และรอบเอวของตนเองให้อยู่ในเกณฑ์ปกติหรือใกล้เคียงปกติหรือลดลงจากระดับเดิมก่อนเข้าอบรมได้
4
เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังรายใหม่ และป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของผู้ป่วยรายเก่า
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง /ประชาชนกลุ่มเสี่ยง /ประชาชนกลุ่มสงสัยป่วย /ประชาชนที่มีภาวะอ้วนลงพุง ที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ เรื่องการนำแพทย์ทางเลือกมาใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม
5
.เพื่อนำความรู้เรื่องแพทย์ทางเลือกมาใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้แก่ประชาชนเขตตำบลคลองปาง
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนตำบลคลองปางที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง (2) เพื่อสร้างแกนนำต้นแบบของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่ประชาชนตำบลคลองปาง (3) .เพื่อสร้างความตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ แบบยั่งยืน (4) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังรายใหม่ และป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของผู้ป่วยรายเก่า (5) .เพื่อนำความรู้เรื่องแพทย์ทางเลือกมาใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้แก่ประชาชนเขตตำบลคลองปาง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการชุมชนคลองปางร่วมใจ สานพลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรค ลดพุง ลดเสี่ยง ห่างไกลโรคเรื้อรัง ปราศจากภาวะแทรกซ้อน ปีงบ 2568 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1512-01-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายชวลิตร คีรีรัตน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการชุมชนคลองปางร่วมใจ สานพลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรค ลดพุง ลดเสี่ยง ห่างไกลโรคเรื้อรัง ปราศจากภาวะแทรกซ้อน ปีงบ 2568 ”
ตำบลคลองปาง อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายชวลิตร คีรีรัตน์
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลคลองปาง อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1512-01-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชุมชนคลองปางร่วมใจ สานพลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรค ลดพุง ลดเสี่ยง ห่างไกลโรคเรื้อรัง ปราศจากภาวะแทรกซ้อน ปีงบ 2568 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองปาง อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองปาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนคลองปางร่วมใจ สานพลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรค ลดพุง ลดเสี่ยง ห่างไกลโรคเรื้อรัง ปราศจากภาวะแทรกซ้อน ปีงบ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชุมชนคลองปางร่วมใจ สานพลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรค ลดพุง ลดเสี่ยง ห่างไกลโรคเรื้อรัง ปราศจากภาวะแทรกซ้อน ปีงบ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองปาง อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1512-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองปาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตของประชาชนส่วนใหญ่ ไม่ว่าจะเป็นการแข่งขันสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัว ค่านิยมวัฒนธรรมตะวันตก ที่ทำให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง เช่น การเร่งรีบกับการทำงาน การแข่งขันทางธุรกิจ การบริโภคอาหารโดยไม่คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการ การเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง ขาดการออกกำลังกาย ความเครียด สิ่งเหล่านี้เป็นปัจจัยทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง หากเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเหล่านี้ จะนำมาสู่การเสียชีวิตก่อนวัยอันควรได้ ซึ่งโรคเหล่านี้สามารถป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เช่น การรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ การจัดการด้านอารมณ์ การผ่อนคลายความเครียด และการมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม
โดยจากผลการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในกลุ่มประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปในเขตตำบลคลองปาง ซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองปาง ปีงบประมาณ ๒๕๖8 พบว่า มีกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 129 ราย จากประชากรกลุ่มเป้าหมาย 1,226 ราย คิดเป็นร้อยละ 10.52 และพบกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวาน จำนวน 208 ราย จากประชากรกลุ่มเป้าหมาย 1,430 ราย คิดเป็นร้อยละ 14.55 นอกจากนี้กลุ่มป่วยที่รับยาที่โรงพยาบาลรัษฎาและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองปาง ตั้งแต่ปี ๒๕๖2-๒๕๖7 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ และจากการติดตามวัดความดันซ้ำในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยต่อเนื่อง ๗ วัน โดยอสม.ในพื้นที่ พบว่า กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงบางรายยังไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้อย่างสม่ำเสมอ เนื่องจากขาดความรู้เรื่องการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ซึ่งจะส่งผลกระทบให้เกิดผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้น
ดังนั้น ทางเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองปาง จึงได้เล็งเห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพประชาชนในชุมชน จึงได้จัดโครงการชุมชนคลองปางร่วมใจ สานพลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรค ลดพุง ลดเสี่ยง ห่างไกลโรคเรื้อรัง ปราศจากภาวะแทรกซ้อน ปีงบ 2568 เพื่อสร้างการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบยั่งยืน สร้างแกนนำสุขภาพ ลดการเกิดผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่ ป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่เป็นสาเหตุสำคัญในการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนตำบลคลองปางที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
- เพื่อสร้างแกนนำต้นแบบของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่ประชาชนตำบลคลองปาง
- .เพื่อสร้างความตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ แบบยั่งยืน
- เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังรายใหม่ และป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของผู้ป่วยรายเก่า
- .เพื่อนำความรู้เรื่องแพทย์ทางเลือกมาใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้แก่ประชาชนเขตตำบลคลองปาง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนตำบลคลองปางที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง 2.สร้างแกนนำต้นแบบของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่ประชาชนตำบลคลองปาง 3.สร้างความตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ แบบยั่งยืน 4.ลดอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังรายใหม่ และป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของผู้ป่วยรายเก่า 5.นำความรู้เรื่องแพทย์ทางเลือกมาใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้แก่ประชาชนเขตตำบลคลองปาง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนตำบลคลองปางที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ประชาชน มีความรู้ เรื่อง การดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง |
|
|||
2 | เพื่อสร้างแกนนำต้นแบบของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่ประชาชนตำบลคลองปาง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของ ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยประเมินจากภาวะสุขภาพโดยรวม ก่อนและหลังอบรม (สามารถเป็นบุคคลต้นแบบเรื่อง การดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง) |
|
|||
3 | .เพื่อสร้างความตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ แบบยั่งยืน ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง /ประชาชนกลุ่มเสี่ยง /ประชาชนกลุ่มสงสัยป่วย /ประชาชนที่มีภาวะอ้วนลงพุง ที่เข้าร่วมโครงการสามารถลดระดับความดันโลหิต ระดับน้ำตาลในเลือด ระดับ BMI และรอบเอวของตนเองให้อยู่ในเกณฑ์ปกติหรือใกล้เคียงปกติหรือลดลงจากระดับเดิมก่อนเข้าอบรมได้ |
|
|||
4 | เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังรายใหม่ และป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของผู้ป่วยรายเก่า ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง /ประชาชนกลุ่มเสี่ยง /ประชาชนกลุ่มสงสัยป่วย /ประชาชนที่มีภาวะอ้วนลงพุง ที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ เรื่องการนำแพทย์ทางเลือกมาใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม |
|
|||
5 | .เพื่อนำความรู้เรื่องแพทย์ทางเลือกมาใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้แก่ประชาชนเขตตำบลคลองปาง ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนตำบลคลองปางที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง (2) เพื่อสร้างแกนนำต้นแบบของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่ประชาชนตำบลคลองปาง (3) .เพื่อสร้างความตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ แบบยั่งยืน (4) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังรายใหม่ และป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของผู้ป่วยรายเก่า (5) .เพื่อนำความรู้เรื่องแพทย์ทางเลือกมาใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้แก่ประชาชนเขตตำบลคลองปาง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการชุมชนคลองปางร่วมใจ สานพลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรค ลดพุง ลดเสี่ยง ห่างไกลโรคเรื้อรัง ปราศจากภาวะแทรกซ้อน ปีงบ 2568 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1512-01-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายชวลิตร คีรีรัตน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......