กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองปัตตานี ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 2) ”
ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางฮัณาฐ์ โต๊ะพา




ชื่อโครงการ โครงการ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองปัตตานี ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 2)

ที่อยู่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L7884-2-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองปัตตานี ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 2) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองปัตตานี ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 2)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองปัตตานี ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 2) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L7884-2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 70,875.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสังคมไทยกำลังเผชิญกับการเข้าสู่ สังคมสูงวัย (Aging Society) โดยสัดส่วนจำนวนประชากรในวัยทำงานและวัยเด็กลดลงจากภาวการณ์เจริญพันธ์ และอัตราการเกิดมีแนวโน้มลดลงในขณะที่ประชากรที่อยู่ ในวัยสูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เนื่องจากความก้าวหน้าในการพัฒนาประเทศทั้งด้านเศรษกิจและสังคม ส่งผลให้คนไทยมีสุขภาพดีมีอายุยืนยาวมีโอกาสำด้รับการศึกษาที่สูงขึ้นมีความรู้และทักษะในการป้องกันและดูแลตนเอง การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุเป็นประเด็นที่ได้รับความสนใจอย่างมากทั้งในระดับชาติและในระดับโลก โดยองค์กร สหประชาชาติ (UN) ได้นิยามว่าประเทศใดมีประชากรอายุ 60 ปี ขึ้นไป เป็นสัดส่วนเกินร้อยละ 10 หรืออายุ 65 ปี ขึ้นไป เกินร้อยละ 7 ของประชากรทั้ง ประเทศถือว่าประเทศนั้นได้ก้าวเข้าสู่สังคมสูงวัย (Aging Society) และจะเป็นสังคมสูงวัยโดยสมบูรณ์ (Aged Society) เมื่อสัดส่วนประชากรอายุ 60 ปี ขึ้นไป เพิ่มเป็นร้อยละ 20 และ อายุ 65 ปี ขึ้นไปเป็นร้อยละ 14 ประเทศไทยก็เผชิญกับการเปลี่ยนแปลงนี้จากผลสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติ 5 ครั้งที่ผ่านมา พบว่าประเทศไทยมีจำนวนและสัดส่วนของผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง ดดยในปี 2537 มีจำนวน ผู้สูงอายุคิดเป็นร้อยละ 6.8 ของประชากรทั้งประเทศและเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 9.4 ร้อยละ 10.7 ร้อยละ 12.2 ในปี 2545,2550,2554 ตามลำดับผลการสำรวจปี 2567 พบว่ามีจำนวนผู้สูงอายุ คิดเป็นร้อยละ 14.9 ของประชากร ทั้งหมดประเทศ (สำนักงานสถิติแห่งชาติ,2565) และมีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นโดยคาดการณ์ว่าในปี 2563 จะมีผู้สูงอายุเพิ่มสูงถึงประมาณร้อยละ 19.13 และในปี 2571 ประเทศไทยจะมีผู้สูงอายุเกิน 60 ปี ร้อยละ 23.5 ตึงต้องมีการเตรียมความพร้อมทั้งมในด้านการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม เนื่องจากมีผลกระทบอย่างกว้างขวางในระดับมหาภาคได้แก่ ผลต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) รายได้ต่อหัวของประชากร การออมและการลงทุน งบประมาณของรัฐบาล การจ้างาน และผลิตภาพของแรงงานและระดับ 3 ุลภาค ได้แก่ ผลต่อตลาดผลิตภัณฑ์ และบริการด้านต่างๆโดยเฉพาะด้านการเงินและด้านสุขภาพ (ปรีชา อุปโยธิน และคณะ,2548) ในระดับชุมชนและครอบครัว เป็นการเปลี่ยนแปลงทางสังคมมีผลทำให้โครงสร้างครอบครัวเปลี่นไปเป็นครอบครัวเดี่ยว ครัวเรือนมีขนาดเล็กลง บางครอบครัว พ่อแม่ ที่เลี้ยงดูลูกโดยลำพัง และยังต้องทำงานเพื่อหาเงินมาใช้จ่าย ลุกเล็กๆ ต้องฝากเลี้ยงไว้สถานที่เลี้ยงเด็กหรือพี่เลี้ยง เด็กจึงขาดโอกาสในการได้รับการอบรมเลี้ยงดูอละรับการกล่อมเกลาทางสังคม (Socialization) ที่เป็นความสัมพันธ์ในครอบครัว และการถ่ายทอดความรู้ภูมิปัญญา ความคิดและทัศนคติที่ดีจากครอบครัวที่อยู่ร่วมกันหลายคน หรือเรียนรู้ ภูมิปัญญา จากพ่อแม่ ปู่ย่า ตายาย ทำให้ความเชื่มโยงความรู้ ภูมิปัญญาจากรุ่นหนึ่งสู่คนอีกรุ่นหนึ่งในครอบครัวเจือจางลง หรือขาดหายไป เกิดช่องว่างความสัมพัธ์ระหว่างวัย ผู้สูงอายุมีความกังวลที่จะต้องเผชิญกับช่วงวัยการเปลี่ยนผ่านของชีวิตที่ต้องเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงมากมาย เป็นสาเหตุที่ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิต หรือต้องมี การปรับระบบวิถีการดำเนินชีวิตใหม่ ซึ่งเป็นสิ่งที่ทุกคนต้องเผชิญอย่างหลีกเลี่ยงมิได้ ทั้งความเปลี่ยนแปลง กายภาพหรือร่างกาย (Physiological) ด้านอารมณ์ (Emotional) ด้านการเรียนรู้ สติปัญญา (Cognitive) ด้านเศรษกิจ (Economic) และสถานภาพทางสังคม (Social Status) สิ่งเหล่านี้มีความแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล   การดุแลเพื่อสงเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ เช่น การส่งเสริมการจัดตั้งชมรม เบี้ยยังชีพรายเดือน และสวัสดีการเฉพาะผู้สูงอายุอื่นๆ แต่ผู้สูงอายุยังขาดโอกาสในการส่งเสริมให้สามารถพึ่งตนเอง ประกอบกับระบบครอบครัวเครือญาติ และเพื่อนบ้านในชุมชนขาดปัจจัยหลักใน 3 ประการ คือ 1. การให้ความสำคัญของบทบาทผู้สูงอายุและการตระหนักถูงบทบาทครอบครัวและชุมชนต่อการดูแลผู้สูงอายุ ซึ่งจะต้องปรับเงื่นไขของวิธีคิด ปรับจิตใจ และปรับเวลาให้สามารถพร้อมที่จะเข้ามามีส่วนร่วม อย่างใกล้ชิดในการดูแลผู้สูงอายุมากขึ้น 2. การขาดความรู้ความเข้าใจ แลัทักษะในการดูแลตลอดจนการพัฒนาให้ผู้สูงอายุมีสุขภาวะกายใจสังคมและสติปัญญาที่เข้มแข็ง สามารถปรับวิถีชีวิตให้เหมาะสม กับการอยู่ในสังคมปัจจุบันได้อย่างสมดุลและมีความสุข 3. การตระหนักว่าผู้สูงอายุเป็นผู้ที่มีคุฯค่าและผ่านประสบการณ์มามากมาย ทำอย่างไรครอบครัวและชุมชนจะนำสิ่งที่ผู้สูงอายุมาถ่ายทอดคนรุ่นหลังได้ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความภาคภูมิใจที่สามารถทำประโยชน์ให้กับลุกหลานมากกว่ารู้สึกว่าเป็นภาระที่ลุกหลานต้องเลี้ยงดู (วาทินี บุญชะลักษีและยุพิน วรสิริอมร,2539)
  ผู้สูงอายุในเทศบาลเมืองปัตตานี ต้องประสบกับเกตุกาณ์ไม่สงบต่างๆ และอยู่ในสถานการณ์ที่ไม่ปลอดภัย ซึ่งอาจทำให้ภาวะสุขภาพมีความแตกต่างกับผู้สุงอายุในพื้นที่อื่น ดังนัั้นการส่งเสริมสุขภาพเป็นกลวิธีที่สำคัญที่จะส่งผลให้ผู้สูงอายุมัคุณภาพชีวิตที่ดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการประเมินสุขภาพครอบคลุมและครบถ้วน 2. เพื่อส่งเสริมและติดตามดูแลผู้สูงอายุให้มีสุขภาพที่ดี ครอบคลุม ครบถ้วน และเหมาะสม 3. เพื่อให้ครอบครัวผู้สูงอายุ มีความรู้และสามารถส่งเสริมผู้สูงอายุให้มีสุขภาพที่ดี ครอบคลุมครบถ้วนและเหมาะสมได้อย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพ ตรวจคัดกรองสุขภาพและมีความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพ
    2. ครอบครัวมีความรู้และสามราถดูแลสุขภาพ และส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุได้อย่างถูกวิธี
    3. ผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านสุขภาพ ได้รับการดูแล ส่งเสริม ป้องกัน แก้ไข และรักษาอย่างถูกวิธีและต่อเนื่อง การประเมินผล
    4. ประเมินภาวะผู้สุงอายุก่อนและหลังเข้าร่วงโครงการ
    5. ประเมินความพึงพอใจในการจัดทำดครงการ
    6. สรุปผลกิจกรรมและนำเสนอผลการดำเนินตามโครงการ แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการประเมินสุขภาพครอบคลุมและครบถ้วน 2. เพื่อส่งเสริมและติดตามดูแลผู้สูงอายุให้มีสุขภาพที่ดี ครอบคลุม ครบถ้วน และเหมาะสม 3. เพื่อให้ครอบครัวผู้สูงอายุ มีความรู้และสามารถส่งเสริมผู้สูงอายุให้มีสุขภาพที่ดี ครอบคลุมครบถ้วนและเหมาะสมได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการได้รับการประเมินสุขภาพ ครอบคลุมและครบถ้วน 2.ร้อยละ 80 ของผู้สูงอยุที่เข้าร่วมโครงการได้รับการส่งเสริมและติดตามดูแลให้มีสุขภาพที่ดีครอบคลุม ครบถ้วนและเหมาะสม 3. ร้อยละ 80 ของครอบครัวผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้และสามารถส่งเสริมสุขภาพที่ดีครอบคลุม ครบถ้วน และเหมาะสมได้อย่างถูกต้อง

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการประเมินสุขภาพครอบคลุมและครบถ้วน 2. เพื่อส่งเสริมและติดตามดูแลผู้สูงอายุให้มีสุขภาพที่ดี ครอบคลุม ครบถ้วน และเหมาะสม 3. เพื่อให้ครอบครัวผู้สูงอายุ มีความรู้และสามารถส่งเสริมผู้สูงอายุให้มีสุขภาพที่ดี ครอบคลุมครบถ้วนและเหมาะสมได้อย่างถูกต้อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองปัตตานี ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 2) จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 68-L7884-2-10

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางฮัณาฐ์ โต๊ะพา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด