กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการโรงเรียนปลอดภัยรอบด้าน ”
โรงเรียนบ้านทุ่งเลียบ



หัวหน้าโครงการ
นายวงศ์วัฒน์ พรอนุวงศ์




ชื่อโครงการ โครงการโรงเรียนปลอดภัยรอบด้าน

ที่อยู่ โรงเรียนบ้านทุ่งเลียบ จังหวัด

รหัสโครงการ 68-L5275-02-002 เลขที่ข้อตกลง 13

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการโรงเรียนปลอดภัยรอบด้าน จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนบ้านทุ่งเลียบ

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการโรงเรียนปลอดภัยรอบด้าน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการโรงเรียนปลอดภัยรอบด้าน " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนบ้านทุ่งเลียบ รหัสโครงการ 68-L5275-02-002 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 78,847.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรงเรียนบ้านทุ่งเลียบ ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ถนนสนามบิน – บ้านกลาง ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสไปรษณีย์ 90110 โทรศัพท์ 0-7450-2244 เปิดทำการเรียนการสอน ตั้งแต่ชั้นระดับอนุบาล 2 – ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 มีจำนวนนักเรียนชาย 29 คน นักเรียนหญิง 31 คน รวมทั้งหมด 60 คน ปัจจุบันความปลอดภัยของนักเรียนเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อการเรียนรู้และพัฒนาของเด็กในโรงเรียน การส่งเสริมสุขภาพและความปลอดภัยรอบด้านเป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วน โรงเรียนในฐานะสถานที่สำคัญที่นักเรียนใช้เวลาส่วนใหญ่จึงควรมีการดำเนินงานอย่างเป็นระบบในการสร้างความปลอดภัยทั้งด้านสุขภาพและสภาพแวดล้อม ข้อมูลจากกระทรวงสาธารณสุขระบุว่า เด็กไทยร้อยละ 52 มีปัญหาสุขภาพช่องปาก เช่น ฟันผุ หินปูน ร้อยละ 15 มีภาวะทุพโภชนาการ และในปี 2567 มีโรคติดต่อจากเชื้อไวรัสในเด็กวัยเรียน เช่นไข้หวัดใหญ่ ไข้เลือดออก ไข้หวัด โรคมือเท้าปากจำนวนที่เพิ่มขึ้น นอกจากนี้ จากรายงานของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยพบว่า การจมน้ำเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของเด็กไทยในช่วงอายุต่ำกว่า 15 ปี โดยเฉพาะในช่วงปิดภาคเรียนที่มีอัตราการเสียชีวิตเพิ่มสูงขึ้น สถานการณ์ดังกล่าวเน้นให้เห็นถึงความสำคัญของการดำเนินการป้องกันอย่างเร่งด่วน ทั้งนี้ นโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ได้มุ่งเน้นการส่งเสริมโรงเรียนปลอดภัย
(Safe School) เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่เอื้อต่อสุขภาพกายและจิตใจของนักเรียน โดยมีเป้าหมายในการลดความเสี่ยงทางสุขภาพ เพิ่มความปลอดภัยในชีวิตประจำวัน และสร้างความตระหนักรู้ให้กับนักเรียนและผู้ปกครองเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ โรงเรียนบ้านทุ่งเลียบซึ่งเป็นโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ชานเมือง ครอบครัวของนักเรียนส่วนใหญ่มีอาชีพรับจ้างโรงงาน การดำเนินชีวิตของนักเรียนและผู้ปกครองเกี่ยวข้องกับความท้าทายหลายด้าน ส่งผลให้โรงเรียนประสบปัญหาที่มีผลกระทบต่อสุขภาพและความปลอดภัยของนักเรียนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ หนึ่งในปัญหาสำคัญคือ สุขภาพช่องปากของนักเรียนที่ไม่สมบูรณ์ จากการสำรวจพบว่านักเรียนมีปัญหาด้านสุขภาพช่องปากในทุกระดับชั้น ได้แก่ ฟันผุ เหงือกบวม เป็นต้น ตั้งแต่ระดับอนุบาล 2 ถึงระดับประถมศึกษาปีที่ 6 รวมจำนวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 51.66 ของนักเรียนทั้งหมด มีฟันผุหรือเหงือกอักเสบ ซึ่งเกิดจากการขาดความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างถูกต้อง ประกอบกับการเข้าถึงบริการทันตกรรมในพื้นที่มีข้อจำกัด เนื่องจากระยะทางที่ห่างไกลและทรัพยากรที่ไม่เพียงพอ ปัญหานี้ส่งผลโดยตรงต่อคุณภาพชีวิตของนักเรียน ทั้งในด้านการเรียนรู้และสุขภาพโดยรวม ด้านโภชนาการของนักเรียนก็เป็นอีกปัญหาที่ต้องได้รับการแก้ไข พบว่านักเรียนโรงเรียนบ้านทุ่งเลียบมีปัญหาภาวะโภชนาการ จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 25 ของนักเรียนทั้งหมด โดยปัญหาโภชนาการที่พบเกิดจากความรู้ด้านโภชนาการที่จำกัดในครัวเรือน รวมถึงการจัดอาหารเช้าที่ขาดความสมดุลด้านสารอาหาร การที่นักเรียนไม่ได้รับอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการอย่างเหมาะสม ส่งผลต่อพัฒนาการทางร่างกายและสมอง นอกจากนี้ สภาพแวดล้อมในโรงเรียนยังมีข้อบกพร่องที่อาจส่งผลต่อสุขภาพของนักเรียน เช่น การจัดการขยะที่ไม่เหมาะสม ห้องน้ำที่ขาดการดูแลอย่างถูกสุขลักษณะ และพื้นที่เรียนที่ไม่สะอาด ปัญหาเหล่านี้ส่งผลให้โรงเรียนกลายเป็นแหล่งสะสมของเชื้อโรค และเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดโรคติดต่อต่าง ๆ อีกประเด็นที่ต้องให้ความสำคัญคือ ความเสี่ยงจากการจมน้ำในเด็ก โรงเรียนตั้งอยู่ใกล้แหล่งน้ำธรรมชาติ เช่น คลองและบ่อน้ำในชุมชน ซึ่งกลายเป็นพื้นที่เสี่ยงอันตรายสำหรับนักเรียน โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝนที่ปริมาณน้ำเพิ่มสูงขึ้น แม้โรงเรียนและชุมชนจะพยายามกำชับเรื่องความปลอดภัย แต่การขาดทักษะการว่ายน้ำและการช่วยเหลือตัวเองเมื่อเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉินยังคงเป็นปัญหาที่ต้องได้รับการแก้ไข
สุดท้าย ปัญหาการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชนยังไม่เป็นไปอย่างเต็มที่ แม้ผู้ปกครองจะมีบทบาทสำคัญในการดูแลสุขภาพและความปลอดภัยของเด็ก แต่การขาดความรู้และความตระหนักในปัญหาต่าง ๆ ทำให้การแก้ไขปัญหาไม่ยั่งยืน จากข้อมูลข้างต้นโรงเรียนบ้านทุ่งเลียบจึงจำเป็นต้องดำเนินโครงการ “โรงเรียนปลอดภัยรอบด้าน” เพื่อแก้ไขปัญหาเหล่านี้อย่างเป็นระบบ โดยเน้นการส่งเสริมสุขภาพและความปลอดภัยในทุกมิติ รวมถึงการสร้างความร่วมมือระหว่างโรงเรียน ชุมชน และผู้ปกครอง เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของนักเรียนในระยะยาว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ความรู้เรื่องโภชนาการในเด็กวัยเรียนแก่ผู้ปกครองนักเรียน
  2. 2. เพื่อดูแลสุขภาพในช่องปากของนักเรียน
  3. 3. เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคในโรงเรียน
  4. 4. นักเรียนมีทักษะการว่ายน้ำและความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.จัดอบรมให้ความรู้ด้านโภชนาการแก่ผู้ปกครอง ครูและบุคลากร จำนวน 68 คน
  2. 2.กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากเด็กวัยเรียน
  3. 3. กิจกรรมโรงเรียนสะอาดเป็น Guard ป้องกันโรคในโรงเรียน
  4. 4.กิจกรรมการป้องกันการจมน้ำในเด็กชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ปกครองมีความรู้ด้านโภชนาการและสามารถดูแลสุขภาพเด็กได้ดียิ่งขึ้น 2.นักเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดีและลดปัญหาฟันผุ 3.โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที่สะอาดและลดการแพร่กระจายของโรค 4.นักเรียนมีทักษะการว่ายน้ำและความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ความรู้เรื่องโภชนาการในเด็กวัยเรียนแก่ผู้ปกครองนักเรียน
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 70 ของผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้ผ่านเกณฑ์การประเมิน
0.00

 

2 2. เพื่อดูแลสุขภาพในช่องปากของนักเรียน
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 เด็กนักเรียนมีทักษะการแปรงฟันที่ถูกต้อง 2. ร้อยละ 80 ผู้ปกครองมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กวัยเรียน 3. ร้อยละ 90 ของเด็กนักเรียนกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและเคลือบฟลูออไรด์จากบุคลากรสาธารณสุข
0.00

 

3 3. เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : 1. โรงเรียนมีการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง อย่างน้อยอาทิตย์ละ 1 ครั้ง 2. จัดกิจกรรมรณรงค์การล้างมือและทำความสะอาดจุดสัมผัสร่วม อาทิตย์ละ 1 ครั้ง
0.00

 

4 4. นักเรียนมีทักษะการว่ายน้ำและความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 60 เด็กเรียนสามารถว่ายน้ำได้ 2. ร้อยละ 60 เด็กเรียนช่วยเหลือตนเองเมื่อเกิดอุบัติเหตุทางน้ำ 3. ร้อยละ 90 เด็กเรียนมีความรู้ด้านความปลอดภัยทางน้ำ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ความรู้เรื่องโภชนาการในเด็กวัยเรียนแก่ผู้ปกครองนักเรียน (2) 2. เพื่อดูแลสุขภาพในช่องปากของนักเรียน (3) 3. เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคในโรงเรียน (4) 4. นักเรียนมีทักษะการว่ายน้ำและความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.จัดอบรมให้ความรู้ด้านโภชนาการแก่ผู้ปกครอง ครูและบุคลากร จำนวน 68 คน (2) 2.กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากเด็กวัยเรียน (3) 3. กิจกรรมโรงเรียนสะอาดเป็น Guard ป้องกันโรคในโรงเรียน (4) 4.กิจกรรมการป้องกันการจมน้ำในเด็กชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการโรงเรียนปลอดภัยรอบด้าน จังหวัด

รหัสโครงการ 68-L5275-02-002

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายวงศ์วัฒน์ พรอนุวงศ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด