กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลตาเซะ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นายอิมรอน ปาละมาณ




ชื่อโครงการ โครงการป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลตาเซะ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 3 / 2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตาเซะ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเซะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตาเซะ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเซะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)       โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือเรียกย่อว่า NCD (Non-communicable disease, NCD) คือ กลุ่มโรคที่ไม่ได้เกิดจากเชื้อโรคจึงทำให้ไม่สามารถแพร่กระจายจากบุคคลหนึ่งไปอีกบุคคลหนึ่งได้ ซึ่งโรคไม่ติดต่อเรื้องรังนั้นเกิดจากปัจจัยเสี่ยงที่มาจากพฤติกรรมการดำเนินชีวิตที่ไม่เหมาะสมต่างๆ เป็นหลัก เช่น การดื่มสุรา การสูบบุหรี่ การรับประทานอาหารหวาน มัน เค็ม และการออกกำลังกายที่ไม่เพียงพอ ซึ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา ได้แก่ ไขมันในเลือดสูง ความดันโลหิตสูง น้ำตาลในเลือดสูง ภาวะน้ำหนักเกิน และอ้วน ที่นำไปสู่การเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หากไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องหรือไม่ได้รับการดูแลรักษา จะยิ่งทำให้อาการรุนแรงขึ้น และเกิดการสะสมจนเป็นโรคเรื้อรังได้ องค์การอนามัยโลก (WHO) สถิติผู้เสียชีวิตจากกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง พบว่าสาเหตุการเสียชีวิตของประชากรโลกทั้งหมด มีถึง 63% ที่เกิดจากกลุ่มโรค NCDs และที่สำคัญกว่านั้นคือ กว่า 80% เป็นประชากรของประเทศที่กำลังพัฒนาประเทศไทย จากสถิติล่าสุดพบว่ามี 14 ล้านคนที่เป็นโรค ในกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และที่สำคัญยังถือเป็นสาเหตุหลักการเสียชีวิตของ ประชากรทั้งประเทศ โดยจากสถิติประชากรที่เสียชีวิต จากกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง มากกว่า 300,000 คน หรือ คิดเป็น 73% ของการเสียชีวิตของประชากรไทยทั้งหมด และมีแนวโน้มจะสูงขึ้นในอนาคต
    ปัจจุบันพบว่าอัตราความชุกของ โรคเบาหวานความดันโลหิตสูง พื้นที่หมู่ที่ 2 และหมู่ที่ 4 ตำบลตาเซะ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี รวมถึงผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูง ที่มารับบริการผู้ป่วยนอก เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี จำนวนประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปในเขตพื้นที่มารับบริการคัดกรองเบาหวาน กลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1,162 คน ได้รับคัดกรองเบาหวาน 1,069 คน คิดเป็นร้อยละ 92 ได้รับคัดกรองความดันโลหิตสูง กลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1,105 คน ได้รับคัดกรองความดันโลหิตสูง 1,022 คน คิดเป็นร้อยละ 92.49 กลุ่มพบกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน 444 คน คิดเป็นร้อยละ 38.21 กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง 125 คน คิดเป็นร้อยละ 11.31 กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 1.72 กลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง 69 คน คิดเป็นร้อยละ 6.24 และยังพบว่ามีผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงที่ต้องเข้านอนพักรักษาตัวในโรงพยาบาลด้วยโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง และภาวะแทรกซ้อนต่างๆ อีกเป็นจำนวนมาก ถึงแม้ว่าโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ส่วนใหญ่ไม่ทำให้สูญเสียชีวิตทันที แต่ทำให้คุณภาพชีวิตลดลง เกิดความสูญเสียทั้งทางด้านสังคม และเศรษฐกิจ โดยเฉพาะเมื่อผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อน ทำให้เกิดข้อจำกัดด้านความสามารถหรือมีความพิการหรือเสียชีวิตก่อนเวลาอันควร ดังนั้นการควบคุมระดับน้าตาลในเลือด ระดับความดันโลหิตมีความสำคัญในการควบคุมความรุนแรงของโรค และป้องกันการ เกิดภาวะแทรกซ้อน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองโดยกิจกรรม 3อ3ส. จึงเป็นวิธีการที่สำคัญในการช่วยให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงสามารถดูแลตนเองและควบคุมโรคได้ นอกจากนี้การให้ความสำคัญกับกลุ่มเสี่ยงที่มีแนวโน้มอาจเกิดโรคในอนาคตก็มีความสำคัญเช่นกัน หากสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้ ก็ทำให้แนวโน้มที่จะเกิดโรคเรื้อรังในอนาคตลดลงได้
      ปัจจุบันโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านวังกระพบผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเป็นจำนวนผู้ป่วยมากที่สุด รองลงมาคือโรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือด โรคหัวใจ แลละโรคไต หากประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ด้านสุขภาพ ตระหนักในการดูแลสุขภาพ เข้ารับบริการคัดกรองสุขภาพ รวมทั้งมีทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม จะสามารถดูแลตนเอง ครอบครัว และชุมชน เพื่อลดโอกาสการเกิดโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงได้ รวมทั้งเมื่อเกิดการเจ็บป่วยได้รับการดูแลตั้งแต่เริ่มแรก ได้รับการค้นหาภาวะแทรกซ้อน จะลดโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อน และชะลอความรุนแรงของโรคได้ ดังนั้น จึงได้จัดโครงการป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและไต ปีงบประมาณ 2568

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเรื้อรัง
  2. 2. เพื่อให้ประชาชนที่อยู่ในเกณฑ์เสี่ยงมีความรู้ด้านสุขภาพ ความเข้าใจและสามารถมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 40
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชากรกลุ่มเสี่ยงที่ผ่านการประเมินพฤติกรรมสุขภาพ ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
    2. ประชากรกลุ่มป่วยได้รับความรู้และทักษะเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพป้องกันภาวะแทรกซ้อน
    3. ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพ
    4. ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้
    5. ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเรื้อรัง
    ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเรื้อรังร้อยละ 90
    90.00

     

    2 2. เพื่อให้ประชาชนที่อยู่ในเกณฑ์เสี่ยงมีความรู้ด้านสุขภาพ ความเข้าใจและสามารถมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
    ตัวชี้วัด : 2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพหลังการอบรมร้อยละ 80
    80.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 40
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเรื้อรัง (2) 2. เพื่อให้ประชาชนที่อยู่ในเกณฑ์เสี่ยงมีความรู้ด้านสุขภาพ ความเข้าใจและสามารถมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายอิมรอน ปาละมาณ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด