โครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง ”
ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายฝีอี เบ็ญก็เด็ม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง
กรกฎาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง
ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5273-2-2 เลขที่ข้อตกลง 5/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5273-2-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
มุสลิมจะมีวิถีชีวิตที่ผูกพันกับมัสยิดจนกระทั่งช่วงสุดท้ายของชีวิตบทบาทของมัสยิดนอกจากจะเป็นสถานที่ปฏิบัติศาสนกิจตามที่คนทั่วไปเข้าใจแล้ว มัสยิดยังเป็นศูนย์กลางการพัฒนาและส่งเสริมกิจกรรมของชุมชน เป็นศาลสถิตยุติธรรมเพื่อพิจารณาไกล่เกลี่ยคดีความชั้นต้นในชุมชน เป็นสถานที่ประชุมปรึกษาปัญหาและทางออกในเรื่องราวด้านต่าง ๆ ของชุมชน การจัดกิจกรรมงานบุญงานกุศล ทั้งการเริ่มต้นชีวิตครอบครัวคือการแต่งงาน กิจกรรมในวิถีชุมชนต่าง ๆ ตลอดจนเมื่อถึงสุดท้ายของชีวิตสถานที่แห่งนี้จะเป็นสุดท้ายที่เขา (ศพ) จะได้รับการละหมาดขอพรจากพระผู้เป็นเจ้าก่อนที่ร่างจะถูกฝังในกูโบ (สุสาาน) ที่อยู่ใกล้ๆ กับมัสยิด บทบาทที่สำคัญอีกประการหนึ่งของมัสยิด คือ การบริการการศึกษาแก่สมาชิกในชุมชนทั้งระดับพื้นฐานและวิทยาการอิสลามขั้นสูง และการจัดการเผยแพร่องค์ความรู้ต่าง ๆ ทัศนะอิสลาม วิชาความรู้ที่ดีงามเป็นประโยชน์ให้กับส่วนบุคล ครอบครัว และการพัฒนาสังคมเป็นสิ่งจำเป็นที่มุสลิมทุกคนต้องไขว่คว้าและเรียนรู้ มัสยิดจึงเป็นสถานที่ส่งเสริมสุขภาพทั้งร่างกาย จิตใจ และจิตวิญญาณของประชาชนในชุมชน อิสลามได้กำหนดให้ผู้ที่จะปฏิบัติศาสนกิจนั้นต้องทำการชำระร่างกายให้สะอาด และจำเป็นที่จะต้องชำระมลทินทั้งสองฝ่าย คือทั้งภายนอกและภายในให้หมดไป ทรงกล่าวไว้ว่า "ความสะอาดเป็นส่วนหนึ่งของการศรัทธา" องค์ประกอบที่สำคัญอย่างหนึ่งที่จะทำให้การปฏิบัติศาสนกิจที่สมบูรณ์ก็คือการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ผู้ปฏืบัติศาสนกิจได้มีน้ำใช้ที่สะอาด มีการจัดการขยะและสิ่งปฏิกูลถูกหลักสุขาภิบาลที่ไม่ก่อให้เกิดการปนเปื้อน หรือทำความสกปรกแก่ผู้ปฏิบัติ่ศาสนกิจ ในการแก้ปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อม ่จะบังเกิดผลสำเร็จได้จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากประชาชนเป็นสำคัญ เพราะการแก้ไขปัญบหาอนามัยสิ่งแวดล้อมขึ้นอยู่กับปฏิบัติตนของประชาชน ดังนั้นการปลูกฝังจิตสำนึกผ่านสถานที่ที่สำคัญให้ประชาชนได้ร่วมดูแลรักษาซึ่งตรงกับคำสอนของอิสลามที่ท่านศาลดามุฮัมมัด ทรงกล่าวว่า "ผู้ใดผูกพันอยู่กับมัสยิด อัลเลาะห์ ศุบหฯ จะทรงผูกพันอยู่กับเขา" ดังนั้น คณะกรรมการมัสยิดประจำตำบลฉลุง (หมู่ที่ 1,2,7) จึงได้จัดทำโครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง เพื่อพัฒนามัสยิดให้ได้มาตรฐาน ส่งเสริมให้มีสภาพแวดล้อม ที่ถูกสุขลักษณะ ที่จะทำให้มีสุขภาพที่ดีต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1.เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้รับความรู้และเกิดความตระหนักเกี่ยวกับอนามัยสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ
- ข้อ 2.เพื่้อให้ศาสนาสถานทางศาสนาอิสลาม คือ มัสยิด เป็นสถานที่สะอาด ปราศจากแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์ที่เป็นพาหะของโรคต่าง ๆ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้
- กิจกรรมรณรงค์
- อบรมความรู้เกี่ยวกับมัสยิดส่งเสริมสุขภาพ
- การรณรงค์ในการปรับปรุงภูมิทัศน์ด้านสิ่งแวดล้อม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.มัสยิดจะเป็นแหล่งที่มีการสร้างสุขภาวะที่ดีภายใต้การจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ถูกต้อง
2.ประชาชนที่มาใชว้บริการมัสยิดมีพฤติกรรมด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ดี
3.ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ 1.เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้รับความรู้และเกิดความตระหนักเกี่ยวกับอนามัยสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ประชาชน ร้อยละ 80 ได้ัรับความรู้และเกิดความตระหนักเกี่ยวกับอนามัยสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ
2
ข้อ 2.เพื่้อให้ศาสนาสถานทางศาสนาอิสลาม คือ มัสยิด เป็นสถานที่สะอาด ปราศจากแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์ที่เป็นพาหะของโรคต่าง ๆ
ตัวชี้วัด : ไม่มีแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์ที่เป็นสาเหตุให้เกิดโรคต่อประชาชนที่มาใช้สถานที่มัสยิด ร้อยละ 80
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1.เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้รับความรู้และเกิดความตระหนักเกี่ยวกับอนามัยสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ (2) ข้อ 2.เพื่้อให้ศาสนาสถานทางศาสนาอิสลาม คือ มัสยิด เป็นสถานที่สะอาด ปราศจากแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์ที่เป็นพาหะของโรคต่าง ๆ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมรณรงค์ (3) อบรมความรู้เกี่ยวกับมัสยิดส่งเสริมสุขภาพ (4) การรณรงค์ในการปรับปรุงภูมิทัศน์ด้านสิ่งแวดล้อม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5273-2-2
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายฝีอี เบ็ญก็เด็ม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง ”
ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายฝีอี เบ็ญก็เด็ม
กรกฎาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5273-2-2 เลขที่ข้อตกลง 5/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5273-2-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
มุสลิมจะมีวิถีชีวิตที่ผูกพันกับมัสยิดจนกระทั่งช่วงสุดท้ายของชีวิตบทบาทของมัสยิดนอกจากจะเป็นสถานที่ปฏิบัติศาสนกิจตามที่คนทั่วไปเข้าใจแล้ว มัสยิดยังเป็นศูนย์กลางการพัฒนาและส่งเสริมกิจกรรมของชุมชน เป็นศาลสถิตยุติธรรมเพื่อพิจารณาไกล่เกลี่ยคดีความชั้นต้นในชุมชน เป็นสถานที่ประชุมปรึกษาปัญหาและทางออกในเรื่องราวด้านต่าง ๆ ของชุมชน การจัดกิจกรรมงานบุญงานกุศล ทั้งการเริ่มต้นชีวิตครอบครัวคือการแต่งงาน กิจกรรมในวิถีชุมชนต่าง ๆ ตลอดจนเมื่อถึงสุดท้ายของชีวิตสถานที่แห่งนี้จะเป็นสุดท้ายที่เขา (ศพ) จะได้รับการละหมาดขอพรจากพระผู้เป็นเจ้าก่อนที่ร่างจะถูกฝังในกูโบ (สุสาาน) ที่อยู่ใกล้ๆ กับมัสยิด บทบาทที่สำคัญอีกประการหนึ่งของมัสยิด คือ การบริการการศึกษาแก่สมาชิกในชุมชนทั้งระดับพื้นฐานและวิทยาการอิสลามขั้นสูง และการจัดการเผยแพร่องค์ความรู้ต่าง ๆ ทัศนะอิสลาม วิชาความรู้ที่ดีงามเป็นประโยชน์ให้กับส่วนบุคล ครอบครัว และการพัฒนาสังคมเป็นสิ่งจำเป็นที่มุสลิมทุกคนต้องไขว่คว้าและเรียนรู้ มัสยิดจึงเป็นสถานที่ส่งเสริมสุขภาพทั้งร่างกาย จิตใจ และจิตวิญญาณของประชาชนในชุมชน อิสลามได้กำหนดให้ผู้ที่จะปฏิบัติศาสนกิจนั้นต้องทำการชำระร่างกายให้สะอาด และจำเป็นที่จะต้องชำระมลทินทั้งสองฝ่าย คือทั้งภายนอกและภายในให้หมดไป ทรงกล่าวไว้ว่า "ความสะอาดเป็นส่วนหนึ่งของการศรัทธา" องค์ประกอบที่สำคัญอย่างหนึ่งที่จะทำให้การปฏิบัติศาสนกิจที่สมบูรณ์ก็คือการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ผู้ปฏืบัติศาสนกิจได้มีน้ำใช้ที่สะอาด มีการจัดการขยะและสิ่งปฏิกูลถูกหลักสุขาภิบาลที่ไม่ก่อให้เกิดการปนเปื้อน หรือทำความสกปรกแก่ผู้ปฏิบัติ่ศาสนกิจ ในการแก้ปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อม ่จะบังเกิดผลสำเร็จได้จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากประชาชนเป็นสำคัญ เพราะการแก้ไขปัญบหาอนามัยสิ่งแวดล้อมขึ้นอยู่กับปฏิบัติตนของประชาชน ดังนั้นการปลูกฝังจิตสำนึกผ่านสถานที่ที่สำคัญให้ประชาชนได้ร่วมดูแลรักษาซึ่งตรงกับคำสอนของอิสลามที่ท่านศาลดามุฮัมมัด ทรงกล่าวว่า "ผู้ใดผูกพันอยู่กับมัสยิด อัลเลาะห์ ศุบหฯ จะทรงผูกพันอยู่กับเขา" ดังนั้น คณะกรรมการมัสยิดประจำตำบลฉลุง (หมู่ที่ 1,2,7) จึงได้จัดทำโครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง เพื่อพัฒนามัสยิดให้ได้มาตรฐาน ส่งเสริมให้มีสภาพแวดล้อม ที่ถูกสุขลักษณะ ที่จะทำให้มีสุขภาพที่ดีต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1.เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้รับความรู้และเกิดความตระหนักเกี่ยวกับอนามัยสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ
- ข้อ 2.เพื่้อให้ศาสนาสถานทางศาสนาอิสลาม คือ มัสยิด เป็นสถานที่สะอาด ปราศจากแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์ที่เป็นพาหะของโรคต่าง ๆ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้
- กิจกรรมรณรงค์
- อบรมความรู้เกี่ยวกับมัสยิดส่งเสริมสุขภาพ
- การรณรงค์ในการปรับปรุงภูมิทัศน์ด้านสิ่งแวดล้อม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 100 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.มัสยิดจะเป็นแหล่งที่มีการสร้างสุขภาวะที่ดีภายใต้การจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ถูกต้อง 2.ประชาชนที่มาใชว้บริการมัสยิดมีพฤติกรรมด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ดี 3.ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1.เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้รับความรู้และเกิดความตระหนักเกี่ยวกับอนามัยสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ ตัวชี้วัด : ประชาชน ร้อยละ 80 ได้ัรับความรู้และเกิดความตระหนักเกี่ยวกับอนามัยสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ |
|
|||
2 | ข้อ 2.เพื่้อให้ศาสนาสถานทางศาสนาอิสลาม คือ มัสยิด เป็นสถานที่สะอาด ปราศจากแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์ที่เป็นพาหะของโรคต่าง ๆ ตัวชี้วัด : ไม่มีแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์ที่เป็นสาเหตุให้เกิดโรคต่อประชาชนที่มาใช้สถานที่มัสยิด ร้อยละ 80 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 100 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1.เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้รับความรู้และเกิดความตระหนักเกี่ยวกับอนามัยสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ (2) ข้อ 2.เพื่้อให้ศาสนาสถานทางศาสนาอิสลาม คือ มัสยิด เป็นสถานที่สะอาด ปราศจากแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์ที่เป็นพาหะของโรคต่าง ๆ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมรณรงค์ (3) อบรมความรู้เกี่ยวกับมัสยิดส่งเสริมสุขภาพ (4) การรณรงค์ในการปรับปรุงภูมิทัศน์ด้านสิ่งแวดล้อม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5273-2-2
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายฝีอี เบ็ญก็เด็ม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......