กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมความรู้ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ”
ตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นายชาติชาย สุทธิธรรมานนท์




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมความรู้ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก

ที่อยู่ ตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 68-L1521-01-11 เลขที่ข้อตกลง .............../2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมความรู้ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลาเส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมความรู้ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมความรู้ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1521-01-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,430.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลาเส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออก ยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย และยังมีแนวโน้มว่าเป็น ปัญหาในอนาคต เนื่องจากความรุนแรงของโรคแปรผันตรงต่ออัตราการตาย และการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกส่งผล ต่อสุขภาพผู้ป่วย ครอบครัว ชุมชนและสังคม ปัจจุบันโรคไข้เลือดออกสามารถเกิดขึ้นได้ตลอดทั้งปี แต่จะมีการ ระบาดมากช่วงหน้าฝน โดยธรรมชาติของโรคไข้เลือดออกจะมีการระบาดปีเว้นปีหรือระบาดปีเว้น 2 ปี แต่ปัจจุบัน พบมีการะบาด  ทุกปี การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกจะสำเร็จได้นั้นต้องอาศัยความร่วมมือบูรณาการจาก ประชาชนในชุมชนและภาคีเครือข่ายสุขภาพทุกภาคส่วน เพื่อร่วมกันป้องกันควบคุมและเฝ้าระวังอย่างโรคอย่าง จริงจังและต่อเนื่อง  จากการศึกษาสาเหตุที่สำคัญของการดำเนินการเฝ้าระวังและป้องกันโรคไข้เลือดออกไม่ประสบ ความสำเร็จ คือ ประชาชนขาดความตระหนัก และขาดความเอาใจใส่ในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายและ กำจัดลูกน้ำยุงลายอย่างจริงจังและต่อเนื่อง หากปัญหาดังกล่าวข้างต้นได้รับการแก้ไข เร่งสร้างความตระหนักในการป้องกันโรค และสนับสนุนการมี ส่วนร่วมในการป้องกันโรคในชุมชนอย่างเหมาะสม จะทำให้อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อและผลกระทบด้านสุขภาพต่อ ประชาชนในชุมชนลดลง ประชาชนในชุมชนสามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุข มีสุขภาวะที่ดี
สถานการณโรคไขเลือดออก ประเทศไทย ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2567 ถึง วันที่ 31 ธันวาคม 2567        (ขอมูลจากระบบรายงานการเฝาระวังโรค 506 กองระบาดวิทยา) ประเทศไทย มีรายงานผูปวยโรคไขเลือดออก (Dengue fever : DF ,Dengue hemorrhagic fever : DHF ,Dengue shock syndrome : DSS) สะสมรวม 105,801 ราย คิดเปนอัตราปวย 162.99 ตอประชากรแสนคน มีรายงานผูปวยเสียชีวิต จำนวน 86 ราย คิดเป็นอัตราตาย 0.13 ตอประชากรแสนคน อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.08 สำหรับในพื้นที่เขต 12 พบผู้ป่วย 14,506 ราย คิดเปนอัตราปวย 291.97 ตอประชากรแสนคน มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต จำนวน 12 ราย คิดเป็นอัตราตาย 0.24 ตอประชากรแสนคน อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.08 (จังหวัดตรังไม่พบรายงานผู้เสียชีวิต) สำหรับสถานการณในพื้นที่จังหวัดตรัง ขอมูลเฝาระวังโรคไขเลือดออก ในจังหวัดตรัง        ขอมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2567 (ข้อมูลจากกลุมงานควบคุมโรคติดตอ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา) จังหวัดตรัง พบผู้ป่วย 1,307 ราย คิดเปนอัตราปวย 205.38 ตอประชากรแสนคน อำเภอที่มีอัตราปวยสูงสุด คือ อำเภอย่านตาขาว จำนวน 235 ราย คิดเปนอัตราปวย 366.97 ตอประชากรแสนคน รองลงมา คือ อำเภอเมืองตรัง จำนวน 547 ราย คิดเปนอัตราปวย 355.54 ตอประชากรแสนคน และ อำเภอนาโยง จำนวน 115 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 257.89 ต่อประชากรแสนคน อำเภอสิเกา มีอัตราป่วยอยู่ในลำดับที่9 จำนวน 34 ราย คิดเปนอัตราปวย 88.85 ตอประชากรแสนคน


โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกะลาเสใหญ่ ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาโรคติดต่อและปัจจัยเสี่ยงของภัยสุขภาพดังกล่าว จึงได้ จัดทำโครงการส่งเสริมความรู้ ป้องกัน ควบคุม โรคไข้เลือดออก ประจำปี2568 ขึ้น เพื่อดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อ รวมถึง การสร้างเกราะป้องกันและรณรงค์ให้เกิดจิตสำนึกของชุมชนให้มีส่วนร่วมในการสร้างสุขภาพที่ดี ลดอัตราป่วยด้วย โรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชนและการมีสุขภาพดีถ้วนหน้าอย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้มีความรู้ในการดูแลตนเองตามหลัก 3 อ. 2 ส. (อาหาร, อารมณ์, ออกกำลังกาย, ลดบุหรี่, ลดสุรา)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.สำรวจจำนวนหลังคาเรือน 2.จัดทำ “โครงการส่งเสริมความรู้ 3.จัดทำแผนปฏิบัติงานในการดำเนินงาน 4.ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. แกนนำสุขภาพประจำรพ.สต.มีความรู้ในการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อในชุมชนเพิ่มขึ้น ๒.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ลดลงจากปี 2567 ๓.ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันโรคติดต่อเพิ่มขึ้น ๔.ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ ลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค ร่วมป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญ  อย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ        ๕.ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในชุมชน โรงเรียน วัดและส่วนราชการอื่นๆ ไม่เกินเกณฑ์ที่กำหนด (ค่า HI , CI        ≤ร้อยละ 5


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้มีความรู้ในการดูแลตนเองตามหลัก 3 อ. 2 ส. (อาหาร, อารมณ์, ออกกำลังกาย, ลดบุหรี่, ลดสุรา)
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้มีความรู้ในการดูแลตนเองตามหลัก 3 อ. 2 ส. (อาหาร, อารมณ์, ออกกำลังกาย, ลดบุหรี่, ลดสุรา)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.สำรวจจำนวนหลังคาเรือน  2.จัดทำ “โครงการส่งเสริมความรู้  3.จัดทำแผนปฏิบัติงานในการดำเนินงาน  4.ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมความรู้ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 68-L1521-01-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายชาติชาย สุทธิธรรมานนท์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด