กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปูโยะ


“ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขอย่างเร่งด่วนและทันต่อเหตุการณ์ โรคเท้าช้าง ประจำปี 251 ”

ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางนูรือมา มะแซ

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขอย่างเร่งด่วนและทันต่อเหตุการณ์ โรคเท้าช้าง ประจำปี 251

ที่อยู่ ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2536-5-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขอย่างเร่งด่วนและทันต่อเหตุการณ์ โรคเท้าช้าง ประจำปี 251 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปูโยะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขอย่างเร่งด่วนและทันต่อเหตุการณ์ โรคเท้าช้าง ประจำปี 251



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขอย่างเร่งด่วนและทันต่อเหตุการณ์ โรคเท้าช้าง ประจำปี 251 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2536-5-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปูโยะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเท้าช้าง (Lymphatic filariasis หรือ Elephantiasis)เป็นโรคที่เกิดจากหนอนพยาธิตัวกลม (Roundworm)ติดต่อโดยทีโดยแมลงเป็นพาหะคือ ยุง ในประเทศไทยพบพยาธิโรคเท้าช้าง ๒ ชนิด ได้แก่เชื้อWuchereriabancroftiทำให้เกิดอาการบวมโตของอวัยวะสืบพันธุ์และแขนขาพาหะหลัก คือ ยุงลายป่า(Aedesnevius) พบในจังหวัดชายแดนไทย – พม่าในจังหวัดตากแม่ฮ่องสอนเชียงใหม่ลําพูนกาญจนบุรีราชบุรีระนอง และเชื้อBrugiamalayiทำให้เกิดอาการแขนขาโตมีพาหะหลักคือ ยุงเสือ(Mansoniabonnea)พบทางภาคใต้ของประเทศในจังหวัดสุราษฎร์ธานีนครศรีธรรมราช กระบี่ และนราธิวาส ซึ่งขณะนี้ไม่พบผู้ป่วยโรคเท้าช้างรายใหม่ในจังหวัดดังกล่าวข้างต้น และอยู่ในการดําเนินการรวบรวมข้อมูลการขอประกาศปลอดโรคเท้าช้างยกเว้นจังหวัดนราธิวาสที่ยังอยู่ในช่วงเฝ้าระวังหลังหยุดการจ่ายยารักษากลุ่มโรคเท้าช้างโดยการเจาะเลือดตั้งแต่อายุ ๕ ปีขึ้นไป ที่มารับบริการที่โรงพยาบาลนราธิวาส โรงพยาบาลสุไหงโกลกและ โรงพยาบาลรือเสาะ จํานวน1,200 คน ยังไม่พบผู้มีแอนติบอดีโรคเท้าช้างปัจจุบัน ประเทศไทยมีความชุกของโรคเท้าช้าง 0.36 ต่อประชากรแสนคน พบผู้ป่วยโรคเท้าช้างคนไทยเพียงจังหวัดนราธิวาส เป็นผู้ป่วยที่ตรวจพบไมโครฟิลาเรีย ๔๗ ราย(ความชุก 0.07 ต่อประชากรแสนคน)โดยมีอัตราส่วนเพศ ชาย : หญิง เป็น 1.6 : 1 พบมากอยู่ในช่วงอายุ 35-44 ปี 15-24 ปีและ ≥65 ปี ผู้ป่วยกระจายอยู่ในอําเภอเมือง ตากใบ ยี่งอ สุไหงโกลก สุไหงปาดีและเจาะไอร้อง พบมากที่สุดในอําเภอตากใบ ร้อยละ 38.3ส่วนผู้ที่มีอวัยวะบวมโตทั้งหมดเป็นผู้ป่วยเก่า(สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง;2558) สำหรับสถานการณ์โรคเท้าช้างในเภอสุไหงโก-ลกมีผู้ป่วยที่ตรวจพบไมโครฟิลาเรียจำนวน5รายกระจายอยู่ในตำบลปาเสมัส 1รายและตำบลปูโยะจำนวน4รายการดำเนินการที่จะไม่ให้มีการแพร่เชื้อมีมาตรการที่สำคัญ คือ ๑) การรักษากลุ่มประชากรเพื่อลดการแพร่ระบาดของโรค ๒) การรักษาเฉพาะรายโดยการติดตามจ่ายและเจาะโลหิตซ้ำในผู้ป่วยที่มีเชื้อในกระแสเลือด ทุก 6 เดือน เป็นเวลา 2 ปีและการติดตามดูแลผู้ป่วยที่ปรากฏอาการอวัยวะบวมโต ๓) การให้สุขศึกษา – ประชาสัมพันธ์และการส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคเท้าช้างอย่างถูกต้องเพื่อทำให้เกิดความร่วมมือในการรักษาและมีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่ถูกต้องต่อไป โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปูโยะได้ดำเนินการจ่ายยารักษากลุ่มตามโครงการกำจัดโรคเท้าช้างของกระทรวงสาธารณสุขตั้งแต่ปี ๒๕๔๕-๒๕55และยังอยู่ในช่วงเฝ้าระวังหลังหยุดการจ่ายยารักษากลุ่มโรคเท้าช้างเพื่อตอบสนองนโยบายของจังหวัดนราธิวาสโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปูโยะจึงได้จัดกิจกรรมกวาดล้างโรคเท้าช้างในพื้นที่ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มความครอบคลุมการรับประทานยารักษากลุ่มและลดการพแร่ระบาดโรคเท้าช้างในพื้นที่
  2. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเท้าช้างรายใหม่ได้รับการรักษาและติดตามเจาะเลือดซ้ำทุกราย
  3. เพื่อลดพยาธิสภาพของผู้ป่วยที่ปรากฏอาการให้น้อยลง และได้รับการดูแลที่ถูกวิธี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมรณรงค์ จ่ายยารักษากลุ่ม (MDA)แก่ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงแพร่เชื้อโรคเท้าช้าง
  2. กิจกรรมเจาะเลือดในประชาชนพื้นที่เสี่ยงแพร่เชื้อโรคเท้าช้าง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 300
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนให้ความร่วมมือในการป้องกันและควบคุมโรคเท้าช้าง และสามารถป้องกันตนเองจากสภาพแวดล้อมที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค
  2. อัตราความครอบคลุมการจ่ายยารักษากลุ่ม (MDA) เพิ่มมากขึ้น
  3. อัตราการพบเชื้อในกระแสเลือดรายใหม่ลดลง
  4. ผู้ป่วยที่มีเชื้อในกระแสเลือดได้รับการติดตามรักษาและเจาะโลหิตซ้ำทุกรายเพื่อลดพยาธิสภาพที่อาจเกิดขึ้นกับผู้ป่วย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมเจาะเลือดในประชาชนพื้นที่เสี่ยงแพร่เชื้อโรคเท้าช้าง

วันที่ 17 มกราคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมเจาะเลือดในประชาชนพื้นที่เสี่ยงแพร่เชื้อโรคเท้าช้าง  (ปีงบประมาณ 2561  เจาะเฉพาะ  หมู่ที่ 3  บ้านโต๊ะเวาะและหมู่ที่ 5  บ้านโต๊ะแดง) ดำเนินการเจาะเลือดเพื่อหาเชื้อเท้าช้างด้วยชุดตรวจวินิจฉัยโรคเท้าช้างแบบรวดเร็ว  ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานโครงการควบคุมงานโรคติดต่อฯ  ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง  อันเนื่องมาจากพระราชดำริ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

หมู่บ้าน จำนวนเป้าหมาย(ราย) ได้รับการตรวจด้วยชุดวินิจฉัยโรคเท้าช้างแบบรวดเร็ว (ราย) ไม่อยู่ในพื้นที่ (ราย) พบเชื้อเท้าช้างในกระแสเลือด (ราย) ติดตามรักษา(ราย) จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ ม.3 บ้านโต๊ะเวาะ 960 775 80.73 185 19.27 4 0.52 4 100 ม.5 บ้านโต๊ะแดง 145 90 62.06 55 37.93 0 0.00 0 0.00 รวม 1,105 865 78.28 240 21.71 4 0.52 0 0.00

 

300 0

2. กิจกรรมรณรงค์ จ่ายยารักษากลุ่ม (MDA)แก่ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงแพร่เชื้อโรคเท้าช้าง

วันที่ 17 มกราคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมกวาดล้างโรคเท้าช้างในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดำเนินการจัดกิจกรรมรณรงค์จ่ายยาDiethylcarbamazine Citrateรักษากลุ่ม (MDA)แก่ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงแพร่เชื้อโรคเท้าช้างจำนวน  4  หมู่บ้าน โดยเน้นการกินยาต่อหน้า  เพื่อตัดวงจรการแพร่ระบาดของโรคเท้าช้างในพื้นที่ผลการดำเนินงานดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1  สรุปผลการจ่ายยารักษากลุ่ม(MDA)ในพื้นที่เสี่ยงต่อการแพร่เชื้อโรคเท้าช้าง
ระหว่างวันที่  16  มกราคม  2561  ถึง  28  กุมภาพันธ์  2561

ลำดับ หมู่บ้าน จำนวน กินยาต่อหน้า ฝากยา ปฏิเสธ เป้าหมาย จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ 1 ม.2 บ้านปูโยะ 1,409 820 58.20 215 15.26 3 0.21 2 ม.3 บ้านโต๊ะเวาะ 1,405 957 68.11 281 20.00 1 0.07 3 ม.4 บ้านกูแบอีแก 750 573 76.40 60 8.00 0 0.00 4 ม.5 บ้านโต๊ะแดง 154 63 40.91 0 0.00 0 0.00 รวม 3,718 2,413 64.90 556 14.95 4 0.11

ความครอบคลุมการจ่ายยารักษากลุ่มในพื้นที่เสี่ยงต่อการแพร่เชื้อโรคเท้าช้าง  ทั้งหมด  2,969  ราย  คิดเป็นร้อยละ  79.85  ปฏิเสธ  4  ราย คิดเป็นร้อยละ  0.11

 

300 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. กิจกรรมกวาดล้างโรคเท้าช้างในพื้นที่   ดำเนินการจัดกิจกรรมรณรงค์จ่ายยาDiethylcarbamazine Citrateรักษากลุ่ม (MDA)แก่ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงแพร่เชื้อโรคเท้าช้างจำนวน 4 หมู่บ้าน โดยเน้นการกินยาต่อหน้า เพื่อตัดวงจรการแพร่ระบาดของโรคเท้าช้างในพื้นที่ผลการดำเนินงานดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 สรุปผลการจ่ายยารักษากลุ่ม(MDA)ในพื้นที่เสี่ยงต่อการแพร่เชื้อโรคเท้าช้าง
    ระหว่างวันที่ 16 มกราคม 2561 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2561

ลำดับ หมู่บ้าน จำนวน กินยาต่อหน้า ฝากยา ปฏิเสธ เป้าหมาย จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ 1 ม.2 บ้านปูโยะ 1,409 820 58.20 215 15.26 3 0.21 2 ม.3 บ้านโต๊ะเวาะ 1,405 957 68.11 281 20.00 1 0.07 3 ม.4 บ้านกูแบอีแก 750 573 76.40 60 8.00 0 0.00 4 ม.5 บ้านโต๊ะแดง 154 63 40.91 0 0.00 0 0.00 รวม 3,718 2,413 64.90 556 14.95 4 0.11

ความครอบคลุมการจ่ายยารักษากลุ่มในพื้นที่เสี่ยงต่อการแพร่เชื้อโรคเท้าช้าง ทั้งหมด 2,969 ราย คิดเป็นร้อยละ 79.85 ปฏิเสธ 4 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.11 2. กิจกรรมเจาะเลือดในประชาชนพื้นที่เสี่ยงแพร่เชื้อโรคเท้าช้าง (ปีงบประมาณ 2561 เจาะเฉพาะ หมู่ที่ 3 บ้านโต๊ะเวาะและหมู่ที่ 5 บ้านโต๊ะแดง) ดำเนินการเจาะเลือดเพื่อหาเชื้อเท้าช้างด้วยชุดตรวจวินิจฉัยโรคเท้าช้างแบบรวดเร็ว ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานโครงการควบคุมงานโรคติดต่อฯ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง อันเนื่องมาจากพระราชดำริผลการดำเนินงานดังตารางที่ 2








ตารางที่ 2สรุปผลการเจาะเลือดเพื่อหาเชื้อเท้าช้างด้วยชุดตรวจวินิจฉัยโรคเท้าช้างแบบรวดเร็ว
ระหว่างวันที่ 9 กรกฎาคม 2561 ถึง 25 สิงหาคม 2561

หมู่บ้าน จำนวนเป้าหมาย(ราย) ได้รับการตรวจด้วยชุดวินิจฉัยโรคเท้าช้างแบบรวดเร็ว (ราย) ไม่อยู่ในพื้นที่ (ราย) พบเชื้อเท้าช้างในกระแสเลือด (ราย) ติดตามรักษา(ราย) จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ ม.3 บ้านโต๊ะเวาะ 960 775 80.73 185 19.27 4 0.52 4 100 ม.5 บ้านโต๊ะแดง 145 90 62.06 55 37.93 0 0.00 0 0.00 รวม 1,105 865 78.28 240 21.71 4 0.52 0 0.00

ความครอบคลุมการเจาะเลือดเพื่อหาเชื้อเท้าช้างด้วยชุดตรวจวินิจฉัยโรคเท้าช้างแบบรวดเร็ว ทั้งหมด865 ราย คิดเป็นร้อยละ78.28พบเชื้อเท้าช้างในกระแสเลือดรายใหม่ จำนวน 4 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.52 ได้รับการติดตามรักษาทั้งหมด 4 ราย คิดเป็นร้อยละ 100

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มความครอบคลุมการรับประทานยารักษากลุ่มและลดการพแร่ระบาดโรคเท้าช้างในพื้นที่
ตัวชี้วัด : ร้อยละความครอบคลุมการรับประทานยารักษากลุ่มโรคเท้าช้างในพื้นที่เสี่ยงแพร่เชื้อโรคเท้าช้าง

 

2 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเท้าช้างรายใหม่ได้รับการรักษาและติดตามเจาะเลือดซ้ำทุกราย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยโรคเท้าช้างรายใหม่ได้รับการรักษาและติดตามเจาะเลือดซ้ำทุกราย

 

3 เพื่อลดพยาธิสภาพของผู้ป่วยที่ปรากฏอาการให้น้อยลง และได้รับการดูแลที่ถูกวิธี
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 300
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มความครอบคลุมการรับประทานยารักษากลุ่มและลดการพแร่ระบาดโรคเท้าช้างในพื้นที่ (2) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเท้าช้างรายใหม่ได้รับการรักษาและติดตามเจาะเลือดซ้ำทุกราย (3) เพื่อลดพยาธิสภาพของผู้ป่วยที่ปรากฏอาการให้น้อยลง และได้รับการดูแลที่ถูกวิธี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมรณรงค์ จ่ายยารักษากลุ่ม (MDA)แก่ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงแพร่เชื้อโรคเท้าช้าง (2) กิจกรรมเจาะเลือดในประชาชนพื้นที่เสี่ยงแพร่เชื้อโรคเท้าช้าง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขอย่างเร่งด่วนและทันต่อเหตุการณ์ โรคเท้าช้าง ประจำปี 251 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2536-5-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนูรือมา มะแซ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด