กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ


“ ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย ปี ๖๑ ”

ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอายูซะ เละดุวี

ชื่อโครงการ ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย ปี ๖๑

ที่อยู่ ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2491-1-3 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 30 มิถุนายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย ปี ๖๑ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย ปี ๖๑



บทคัดย่อ

โครงการ " ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย ปี ๖๑ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2491-1-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 30 มิถุนายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

งานอนามัยแม่และเด็กเป็นบริการสุขภาพขั้นพื้นฐานที่สำคัญของการพัฒนาคุณภาพประชากร ซึ่งเริ่มตั้งแต่การดูแลครรภ์เพื่อให้การตั้งครรภ์และการคลอดอย่างมีคุณภาพ มารดาและทารกปลอดภัยและมีคุณภาพสมบูรณ์แข็งแรงต่อเนื่องถึงการให้การดูแลเด็กในช่วงปฐมวัย ซึ่งเป็นทรัพยากรอันทรงคุณค่าและเป็นอนาคตของชาติ ควรให้การเลี้ยงดูให้เจริญเติบโตและมีพัฒนาการที่สมวัยทั้งร่างกาย จิตใจอารมณ์ สังคม และสติปัญญา การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ พัฒนาชุมชนและสังคมให้สนับสนุนและส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่จากการวิเคราะห์สถานการณ์งานอนามัยแม่และเด็กของโรงพยาบาลส่งเริมาสุขภาพตำบลบ้านสะปอม พบว่า ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม จำนวน 7 ราย คิดเเป็นร้อยละ 7.07 ซึ่งเกณฑ์ต้องไม่เกินร้อยละ 7 สาเหตุเกิดจากการที่ตั้งครรภ์มารดามีน้ำหนักตัวตลอดการตั้งครรภ์ต่ำกว่าเกณฑ์ และพบภสวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ จำนวน 30 ราย คิดเป็นร้อยละ 23.31 ซึ่งเกณฑ์ต้องไม่เกินร้อยละ 10 แนวทางการดูแลและป้องกันการเกิดปัญหาดังกล่าวคือต้องให้การดูแลที่มีคุณภาพ มีมาตราฐาน หญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการฝากครรภ์คุณภาพและเสริมทักษะการดูแลหลังคลอด และทารกควรได้รับการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาอย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน ได้รับการอบรมเลี้ยงดูที่ตอบสนองความต้องการของเด็กทุกด้านตามวัย การมีส่วนร่วมของสามี ครอบครัว แม่อาสา อสม. ผดบ. และชุมชนมีเครือข่ายเข้มแข็ง   งานอนามัยแม่และเด็กโรงพยาบาลส่งเสริมตำบล ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพแม่และเด็กแบบองค์รวมให้ประสบความสำเร็จและมีคุณภาพ และเป็นการเพิ่มศักยภาพแม่อาสา อสม. รวมถึง ผดบ. เพื่อให้สามารถบูรณารการการดูแลหญิงตั้งครรภ์ครอบคลุมขึ้น จึงไเ้จัดทำโครงการลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย ปี 61 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้แม่อาสา อสม ผดบ ในเขตพื้นที่ สามารถคัดกรองความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ ์และลดภาวะเสี่ยงต่างๆ ได้ถูกต้อง
  2. หญิงตั้งครรภ์เข้ารับการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ เพิ่มเป็น 60% ของหญิงตั้งครรภ์ทั้งหมด
  3. หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 15 ครั้ง เพิ่มขึ้น 90% ของหญิงที่เข้าร่วมโครงการ
  4. หญิงที่เข้าร่วมโครงการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน ร้อยละ 60 ของหญิงที่เข้าร่วมโครงการ
  5. หญิงที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องภาวะเสี่ยงจากการตั้งครรภ์ สิ่งที่ควรปฏิบัติสำหรับหญิงตั้งครรภ์ การเลี้ยงลูกและภาวะอาหารที่จำเป็นสำหรับเด็กทารก เป็นต้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพแม่อาสา อสม. ผดบ.
  2. กิจกรรมให้ความรู้คู่สมรสใหม่/หญิงตั้งครรภ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 90
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.แม่อาสา อสม. ผดบ. ในเขตพื้นที่สามารถคัดกรองความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์และลดภาวะเสี่ยงต่างๆ ได้ถูกต้อง ร้อยละ 80 2.หญิงตั้งครรภ์เข้ารับการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ เพิ่มเป็น 60% ของหญิงตั้งครรภ์ทั้งหมด 3.หญิงตั้งครรภืฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง เพิ่มขึ้น 90% ของหญิงตั้งครรภ์ทั้งหมด 4.อัตราเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน ร้อยละ 60 ของหญิงที่เข้าร่วมโครงการ 5.ลดภาวะเสี่ยงจากการตั้งครรภ์ สิ่งที่ควรปฏิบัติสำหรับหญิงตั้งครรภ์ การเลี้ยงลูกและและภาวะอาหารที่จำเป็นสำหรับเด็กทารก เป็นต้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมให้ความรู้คู่สมรสใหม่/หญิงตั้งครรภ์

วันที่ 30 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 2 1.ประชุมชี้แจงโครงการฯ แก่คณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อกำหนดเนื้อหา กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการฯ การพิจารณากลุ่มเป้าหมาย และชี้แจงวัตถุประสงค์ของการดำเนินงาน 2.ประสานกลุ่มเป้าหมายที่จะเขาร่วมกิจกรรม คู่สมรสใหม่อยู่กินกับสามี/หญิงตั้งครรภ์ 3.สรุปผลการอบรม และจัดทำแพคเกจคู่สมรสใหม่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.หญิงตั้งครรภ์ในเขตพื้นที่ ได้รับการคัดกรองความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์ และลดภาวะเสี่ยงต่าง ๆ ได้ถูกต้อง ร้อยละ 80 2.ภาวะแทรกซ้อนของหญิงตั้งครรภ์ในระยะต่างๆ ลดลง มีการนำหญิงตั้งครรภ์ เพื่อรับบริการฝากครรภ์ในสถานบริการมีมากขึ้น 3.เด็ก 0-6 เดือน ได้รับการเลี้ยงดูด้วยนมแม่ เพิ่มขั้นร้อยละ 60 4.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการคัดกรองสุขภาพทุกราย 5.ไม่พบอัตราการตายของมารดา/เด็กแรกเกิด

 

90 0

2. กิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพแม่อาสา อสม. ผดบ.

วันที่ 29 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นตอนเตรียมการ 1.จัดประชุมชี้แจงโครงการฯ แก่หน้าที่ผู้รับผิดชอบฯ 2.จัดทำโครงการเพื่อเสนอต่อประธานกองทุนสุขภาพตำบลกะลุวอเหนือ เพื่อขอรับการพิจารณาอนุมัติ 3.ประสานงานกับวิทยากรฯ แพทย์ พยาบาล ในการดำเนินกิจการ1,2 ขั้นตอนวางแผนและจัดเตรียมงานต่าง กิจกรรมที่ 1 1.ประชุมชี้แจงโครงการฯแก่คณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อกำหนดเนื้อหา กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการฯ การพิจารณากลุ่มเป้าหมาย และชี้แจงวัตถุประสงค์ของการดำเนินงาน 2.ประสานกลุ่มเป้าหมายที่จะเข้าร่วมกิจกรรม แม่อาสา อสม. และผดบ. 3.สรุปผลการอบรม และจัดทำทะเบียนการคัดกรอง ส่งต่อ หญิงตั้งครรภ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.หญิงตั้งครรภ์ในเขตพื้นที่ ได้รับการคัดกรองความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์ และลดภาวะเสี่ยงต่าง ๆ ได้ถูกต้อง ร้อยละ 80 2.ภาวะแทรกซ้อนของหญิงตั้งครรภ์ในระยะต่างๆ ลดลง มีการนำหญิงตั้งครรภ์ เพื่อรับบริการฝากครรภ์ในสถานมากขึ้น 3.เด็ก 0-6 เดือน ได้รับการเลี้ยงดูด้วยนมแม่ เพิ่มขั้นร้อยละ 60 4.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการคัดกรองสุขภาพทุกราย 5.ไม่พบอัตราการตายของมารดา/เด็กแรกเกิด

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

โครงการลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัยปี 61 จัดขึ้นที่ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสะปอม โดยผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 140 คน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 อสม.,ผดบ. จำนวน 50 คน กลุ่มที่ 2 คู่สมรสใหม่อยู่กินกับสามี/หญิงตั้งครรภ์ 90 คน ในกลุ่มอสม.และผดบ. ได้มีการอบรมให้ความรู้เรื่องการตั้งครรภ์ ภาวะแทรกซ้อน ในระยะต่างๆการนำส่งหญิงตั้งครรภ์ ทำให้กลุ่มดังกล่าวมีความเข้าใจตระหนัก และมีความมั่นใจในการดูแลหญิงตั้งครรภ์มากขึ้น พร้อมทั้งได้รับการเสริมแรงจูงใจในการทำงานกลยุทธ์ ต่างๆในการดำเนินงาน เพื่อให้งานบชรรลุเป้าหมายมากขึ้น ในกลุ่มสมรสใหม่อยู่กินสามี/หญิงตั้งครรภ์ได้ให้ความรู้ ความรู้เรื่องการตั้งครรภ์ ภาวะแทรกซ้อนในระยะต่างๆ การเตรียมความพร้อมในการตั้งครรภ์ มีกิจกรรมถอดบทเรียนแนวทางการปฏิบัติตัว การมีส่วนร่วมของสามี ครอบครัวในการ่วมกันจัดการสุขภาพ การทำแบบทดสอบก่อน-หลัง เข้าอบรม 20 ข้อ ผลการทดสอบพบว่าหลังการเข้าอบรม ผู้อบรมทำคะแนนเพิ่มขึ้นจากเดิม ร้อยละ 78

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้แม่อาสา อสม ผดบ ในเขตพื้นที่ สามารถคัดกรองความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ ์และลดภาวะเสี่ยงต่างๆ ได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ในเขตพื้นที่ ได้รับการคัดกรองความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์ และลดภาวะเสี่ยงต่าง ๆ ได้ถูกต้อง ร้อยละ 80

 

2 หญิงตั้งครรภ์เข้ารับการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ เพิ่มเป็น 60% ของหญิงตั้งครรภ์ทั้งหมด
ตัวชี้วัด : ภาวะแทรกซ้อนของหญิงตั้งครรภ์ในระยะต่างๆ ลดลง มีการนำหญิงตั้งครรภ์ เพื่อรับบริการฝากครรภ์ในสถานบริการมีมากขึ้น

 

3 หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 15 ครั้ง เพิ่มขึ้น 90% ของหญิงที่เข้าร่วมโครงการ
ตัวชี้วัด : เด็ก 0-6 เดือน ได้รับการเลี้ยงดูด้วยนมแม่ เพิ่มขั้นร้อยละ 60

 

4 หญิงที่เข้าร่วมโครงการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน ร้อยละ 60 ของหญิงที่เข้าร่วมโครงการ
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ได้รับการคัดกรองสุขภาพทุกราย
0.00

 

5 หญิงที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องภาวะเสี่ยงจากการตั้งครรภ์ สิ่งที่ควรปฏิบัติสำหรับหญิงตั้งครรภ์ การเลี้ยงลูกและภาวะอาหารที่จำเป็นสำหรับเด็กทารก เป็นต้น
ตัวชี้วัด : ไม่พบอัตราการตายของมารดา/เด็กแรกเกิด
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 90 90
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้แม่อาสา อสม ผดบ ในเขตพื้นที่ สามารถคัดกรองความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ ์และลดภาวะเสี่ยงต่างๆ ได้ถูกต้อง (2) หญิงตั้งครรภ์เข้ารับการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ เพิ่มเป็น 60% ของหญิงตั้งครรภ์ทั้งหมด (3) หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 15 ครั้ง เพิ่มขึ้น 90% ของหญิงที่เข้าร่วมโครงการ (4) หญิงที่เข้าร่วมโครงการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน ร้อยละ 60 ของหญิงที่เข้าร่วมโครงการ (5) หญิงที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องภาวะเสี่ยงจากการตั้งครรภ์ สิ่งที่ควรปฏิบัติสำหรับหญิงตั้งครรภ์ การเลี้ยงลูกและภาวะอาหารที่จำเป็นสำหรับเด็กทารก เป็นต้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพแม่อาสา อสม. ผดบ. (2) กิจกรรมให้ความรู้คู่สมรสใหม่/หญิงตั้งครรภ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย ปี ๖๑ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2491-1-3

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอายูซะ เละดุวี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด