โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรังปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรังปี 2568 ”
ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางภัทรศิรา ฐิติกรกิจ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปูน
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรังปี 2568
ที่อยู่ ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1528-1-08 เลขที่ข้อตกลง 05/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรังปี 2568 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปูน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรังปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรังปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1528-1-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปูน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคฟันผุถือเป็นโรคที่สำคัญที่พบได้ในเด็กวัยก่อนเรียนซึ่งผู้ปกครองหลายท่านมองข้ามความสำคัญของฟันน้ำนม มีความคิดความเชื่อว่า “ฟันผุไปก็ไม่เป็นไรเดี๋ยวฟันใหม่ก็ขึ้น” ซึ่งเป็นความคิดที่ผิดเพราะฟันน้ำนมของเด็ก นอกจาก จะใช้เคี้ยวอาหารทำให้ได้สารอาหารไปพัฒนาทั้งทางร่างกายและสมอง กระตุ้นการเจริญเติบโตอย่างปกติของใบหน้าและกระดูกขากรรไกร การออกเสียงที่ชัดเจน ความสวยงาม และยังช่วยรักษาเนื้อฟันที่ให้ฟันแท้ขึ้นมาแทนที่อย่างเหมาะสมอีกด้วย จากการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพระดับประเทศ ในเด็กช่วงอายุ 3 ปี ถึง 3 ปี 11 เดือน ข้อมูลจากการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพช่องปากครั้งที่ 8 ปี 2560 พบว่าเด็ก 3 ปี มีฟันน้ำนมผุ ถึงร้อยละ 52.9 ซึ่งเห็นได้ว่าข้อมูลฟันผุในเด็กช่วงอายุ 3 ปี ถึง 3 ปี 11 เดือน อยู่ในระดับที่สูงทำให้เกิดปัญหาตามมาหลายอย่าง เช่น เด็กไม่สามารถเคี้ยวอาหารได้ตามปกติ นอนไม่หลับ ส่งผลให้เด็กเจริญเติบโตไม่เต็มที่ ดังนั้นเด็กจึงควรได้รับการเลี้ยงดู ให้การเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดและเหมาะสม เพื่อให้เด็กมีสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์และมีพัฒนาการตามวัย จึงมีความจำเป็นที่จะต้องมีมาตรการในการป้องกันการเกิดโรคฟันผุตั้งแต่การให้คำแนะนำเรื่องการรับประทานอาหารให้ถูกต้อง การแปรงฟันและใช้ไหมขัดฟันที่ถูกวิธีกับผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็ก การใช้ฟลูออไรด์วานิชซึ่งได้รับการยอมรับว่าเป็นวิธีการที่เหมาะสมกับเด็กเล็ก ที่ให้ความร่วมมือในการรักษาน้อยและยังสามารถหยุดการลุกลามของฟันผุในระยะเริ่มแรกได้เป็นอย่างดี
จากการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพในเขตอำเภอห้วยยอด เด็กช่วงอายุ 3 ปี ถึง 3 ปี 11 เดือน ข้อมูลเปรียบเทียบร้อยละของเด็ก 3 ปีฟันน้ำนมผุ ในภาพรวมของจังหวัดตรังกับอำเภอห้วยยอด ข้อมูลเด็ก 3 ปีฟันผุของจังหวัดตรัง ในปีพ.ศ.2561 , ปีพ.ศ.2562, ปีพ.ศ.2563 มีฟันน้ำนมผุร้อยละ 44.4,46.9 และ 47.5 ตามลำดับ ส่วนของอำเภอห้วยยอด ในปีพ.ศ. 2561 ,ปีพ.ศ.2562 และปีพ.ศ. 2563 มีฟันน้ำนมผุร้อยละ 45.6 ,42.26 และ 39.25 ตามลำดับ ในการแก้ปัญหาในเด็กเล็กมีงานวิชาการมากมายที่สนับสนุนให้มีการใช้ฟลูออไรด์วานิช เนื่องจากช่วยป้องกันฟันผุ โดยฟลูออไรด์จะช่วยยับยั้งการสูญเสียแร่ธาตุออกจากผิวฟัน และเร่งให้เกิดการสะสมกลับของแร่ธาตุที่ผิวฟัน ในทางทันตสาธารณสุขฟลูออไรด์วานิชเป็นฟลูออไรด์ความเข้มข้นสูงรูปแบบหนึ่งที่ใช้ทาผิวเคลือบฟัน จัดเป็นฟลูออไรด์ที่มีความปลอดภัยสามารถใช้ได้กับเด็กเล็ก ตั้งแต่เริ่มมีฟันซี่แรกขึ้นมาช่วยลดอัตราการเกิดฟันผุในเด็กเล็กได้
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาปูน เล็งเห็นถึงความสำคัญของการแก้ปัญหาช่องปาก ในเด็กเล็ก อันจะนำไปสู่การมีทันตสุขภาพช่องปากที่ดีของประชากรในเขตตำบลเขาปูนในอนาคต จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กปฐมวัย ช่วงอายุ 3 – 5 ปี ในเขตตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ปี 2568 เพื่อเป็นการส่งเสริมให้เด็กเล็กและผู้ปกครองมีความรู้ทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากตนเองรวมทั้งป้องกันการเกิดฟันผุลุกลามต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อป้องกันการเกิดโรคฟันผุเบื้องต้นในเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และโรงเรียนบ้านควนตัง
- เพื่อให้ความรู้เรื่องทันตสุขภาพและสอนวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธีแก่นักเรียนใน ศพด. และโรงเรียนบ้านควนตัง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.กิจกรรมให้บริการทาฟลูออไรด์วานิชสำหรับป้องกันโรคฟันผุ 2.ให้ความรู้เรื่องทันตสุขภาพและสอนวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธีแก่นักเรียนในศพด.และโรงเรียนบ้านควนตัง
- 1.กิจกรรมให้บริการทาฟลูออไรด์วานิชสำหรับป้องกันโรคฟันผุ 2.ให้ความรู้เรื่องทันตสุขภาพและสอนวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธีแก่นักเรียนในศพด.และโรงเรียนบ้านควนตัง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
86
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อป้องกันการเกิดโรคฟันผุเบื้องต้นในเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และโรงเรียนบ้านควนตัง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับบริการทาฟลูออไรด์วานิชสำหรับป้องกันโรคฟันผุ
2
เพื่อให้ความรู้เรื่องทันตสุขภาพและสอนวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธีแก่นักเรียนใน ศพด. และโรงเรียนบ้านควนตัง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของนักเรียนใน ศพด.และโรงเรียนบ้านควนตัง มีความรู้เรื่องทันตสุขภาพและวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธี
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
86
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
86
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันการเกิดโรคฟันผุเบื้องต้นในเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และโรงเรียนบ้านควนตัง (2) เพื่อให้ความรู้เรื่องทันตสุขภาพและสอนวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธีแก่นักเรียนใน ศพด. และโรงเรียนบ้านควนตัง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมให้บริการทาฟลูออไรด์วานิชสำหรับป้องกันโรคฟันผุ 2.ให้ความรู้เรื่องทันตสุขภาพและสอนวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธีแก่นักเรียนในศพด.และโรงเรียนบ้านควนตัง (2) 1.กิจกรรมให้บริการทาฟลูออไรด์วานิชสำหรับป้องกันโรคฟันผุ 2.ให้ความรู้เรื่องทันตสุขภาพและสอนวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธีแก่นักเรียนในศพด.และโรงเรียนบ้านควนตัง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรังปี 2568 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1528-1-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางภัทรศิรา ฐิติกรกิจ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรังปี 2568 ”
ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางภัทรศิรา ฐิติกรกิจ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1528-1-08 เลขที่ข้อตกลง 05/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรังปี 2568 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปูน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรังปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรังปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1528-1-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปูน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคฟันผุถือเป็นโรคที่สำคัญที่พบได้ในเด็กวัยก่อนเรียนซึ่งผู้ปกครองหลายท่านมองข้ามความสำคัญของฟันน้ำนม มีความคิดความเชื่อว่า “ฟันผุไปก็ไม่เป็นไรเดี๋ยวฟันใหม่ก็ขึ้น” ซึ่งเป็นความคิดที่ผิดเพราะฟันน้ำนมของเด็ก นอกจาก จะใช้เคี้ยวอาหารทำให้ได้สารอาหารไปพัฒนาทั้งทางร่างกายและสมอง กระตุ้นการเจริญเติบโตอย่างปกติของใบหน้าและกระดูกขากรรไกร การออกเสียงที่ชัดเจน ความสวยงาม และยังช่วยรักษาเนื้อฟันที่ให้ฟันแท้ขึ้นมาแทนที่อย่างเหมาะสมอีกด้วย จากการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพระดับประเทศ ในเด็กช่วงอายุ 3 ปี ถึง 3 ปี 11 เดือน ข้อมูลจากการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพช่องปากครั้งที่ 8 ปี 2560 พบว่าเด็ก 3 ปี มีฟันน้ำนมผุ ถึงร้อยละ 52.9 ซึ่งเห็นได้ว่าข้อมูลฟันผุในเด็กช่วงอายุ 3 ปี ถึง 3 ปี 11 เดือน อยู่ในระดับที่สูงทำให้เกิดปัญหาตามมาหลายอย่าง เช่น เด็กไม่สามารถเคี้ยวอาหารได้ตามปกติ นอนไม่หลับ ส่งผลให้เด็กเจริญเติบโตไม่เต็มที่ ดังนั้นเด็กจึงควรได้รับการเลี้ยงดู ให้การเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดและเหมาะสม เพื่อให้เด็กมีสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์และมีพัฒนาการตามวัย จึงมีความจำเป็นที่จะต้องมีมาตรการในการป้องกันการเกิดโรคฟันผุตั้งแต่การให้คำแนะนำเรื่องการรับประทานอาหารให้ถูกต้อง การแปรงฟันและใช้ไหมขัดฟันที่ถูกวิธีกับผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็ก การใช้ฟลูออไรด์วานิชซึ่งได้รับการยอมรับว่าเป็นวิธีการที่เหมาะสมกับเด็กเล็ก ที่ให้ความร่วมมือในการรักษาน้อยและยังสามารถหยุดการลุกลามของฟันผุในระยะเริ่มแรกได้เป็นอย่างดี
จากการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพในเขตอำเภอห้วยยอด เด็กช่วงอายุ 3 ปี ถึง 3 ปี 11 เดือน ข้อมูลเปรียบเทียบร้อยละของเด็ก 3 ปีฟันน้ำนมผุ ในภาพรวมของจังหวัดตรังกับอำเภอห้วยยอด ข้อมูลเด็ก 3 ปีฟันผุของจังหวัดตรัง ในปีพ.ศ.2561 , ปีพ.ศ.2562, ปีพ.ศ.2563 มีฟันน้ำนมผุร้อยละ 44.4,46.9 และ 47.5 ตามลำดับ ส่วนของอำเภอห้วยยอด ในปีพ.ศ. 2561 ,ปีพ.ศ.2562 และปีพ.ศ. 2563 มีฟันน้ำนมผุร้อยละ 45.6 ,42.26 และ 39.25 ตามลำดับ ในการแก้ปัญหาในเด็กเล็กมีงานวิชาการมากมายที่สนับสนุนให้มีการใช้ฟลูออไรด์วานิช เนื่องจากช่วยป้องกันฟันผุ โดยฟลูออไรด์จะช่วยยับยั้งการสูญเสียแร่ธาตุออกจากผิวฟัน และเร่งให้เกิดการสะสมกลับของแร่ธาตุที่ผิวฟัน ในทางทันตสาธารณสุขฟลูออไรด์วานิชเป็นฟลูออไรด์ความเข้มข้นสูงรูปแบบหนึ่งที่ใช้ทาผิวเคลือบฟัน จัดเป็นฟลูออไรด์ที่มีความปลอดภัยสามารถใช้ได้กับเด็กเล็ก ตั้งแต่เริ่มมีฟันซี่แรกขึ้นมาช่วยลดอัตราการเกิดฟันผุในเด็กเล็กได้
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาปูน เล็งเห็นถึงความสำคัญของการแก้ปัญหาช่องปาก ในเด็กเล็ก อันจะนำไปสู่การมีทันตสุขภาพช่องปากที่ดีของประชากรในเขตตำบลเขาปูนในอนาคต จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กปฐมวัย ช่วงอายุ 3 – 5 ปี ในเขตตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ปี 2568 เพื่อเป็นการส่งเสริมให้เด็กเล็กและผู้ปกครองมีความรู้ทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากตนเองรวมทั้งป้องกันการเกิดฟันผุลุกลามต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อป้องกันการเกิดโรคฟันผุเบื้องต้นในเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และโรงเรียนบ้านควนตัง
- เพื่อให้ความรู้เรื่องทันตสุขภาพและสอนวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธีแก่นักเรียนใน ศพด. และโรงเรียนบ้านควนตัง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.กิจกรรมให้บริการทาฟลูออไรด์วานิชสำหรับป้องกันโรคฟันผุ 2.ให้ความรู้เรื่องทันตสุขภาพและสอนวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธีแก่นักเรียนในศพด.และโรงเรียนบ้านควนตัง
- 1.กิจกรรมให้บริการทาฟลูออไรด์วานิชสำหรับป้องกันโรคฟันผุ 2.ให้ความรู้เรื่องทันตสุขภาพและสอนวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธีแก่นักเรียนในศพด.และโรงเรียนบ้านควนตัง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 86 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อป้องกันการเกิดโรคฟันผุเบื้องต้นในเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และโรงเรียนบ้านควนตัง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับบริการทาฟลูออไรด์วานิชสำหรับป้องกันโรคฟันผุ |
|
|||
2 | เพื่อให้ความรู้เรื่องทันตสุขภาพและสอนวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธีแก่นักเรียนใน ศพด. และโรงเรียนบ้านควนตัง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของนักเรียนใน ศพด.และโรงเรียนบ้านควนตัง มีความรู้เรื่องทันตสุขภาพและวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธี |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 86 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 86 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันการเกิดโรคฟันผุเบื้องต้นในเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และโรงเรียนบ้านควนตัง (2) เพื่อให้ความรู้เรื่องทันตสุขภาพและสอนวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธีแก่นักเรียนใน ศพด. และโรงเรียนบ้านควนตัง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมให้บริการทาฟลูออไรด์วานิชสำหรับป้องกันโรคฟันผุ 2.ให้ความรู้เรื่องทันตสุขภาพและสอนวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธีแก่นักเรียนในศพด.และโรงเรียนบ้านควนตัง (2) 1.กิจกรรมให้บริการทาฟลูออไรด์วานิชสำหรับป้องกันโรคฟันผุ 2.ให้ความรู้เรื่องทันตสุขภาพและสอนวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธีแก่นักเรียนในศพด.และโรงเรียนบ้านควนตัง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรังปี 2568 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1528-1-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางภัทรศิรา ฐิติกรกิจ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......