โครงการ อสม.รู้ตน รวมพลังชุมชน ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ อสม.รู้ตน รวมพลังชุมชน ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2568 ”
ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางอามีเนาะ สะแลแม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการ อสม.รู้ตน รวมพลังชุมชน ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2568
ที่อยู่ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2568-L4135-02-11 เลขที่ข้อตกลง 21/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ อสม.รู้ตน รวมพลังชุมชน ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2568 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ อสม.รู้ตน รวมพลังชุมชน ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ อสม.รู้ตน รวมพลังชุมชน ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2568-L4135-02-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กระทรวงสาธารณสุขได้มีนโยบายการพัฒนาด้านสุขภาพเพื่อให้ประชาชนทุกคนมีสุขภาพดี อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำรงชีวิตที่ดี เกิดความเท่าเทียมทั่วถึงในการรับบริการสุขภาพของประชาชนทุกคน โดยให้ประชาชนได้รับรู้สถานะของตนเองและเข้าถึงการคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และได้กำหนดให้ดำเนินการพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยให้มีความครอบคลุมในมิติทางด้านสุขภาพทั้ง 4 มิติ คือ มิติด้านการป้องกันโรคการส่งเสริมสุขภาพ การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสภาพ เน้นให้เกิดการสร้างสุขภาพมากกว่าการซ่อมสุขภาพซึ่งเกี่ยวข้องกับความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักด้านสุขภาพ จนเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความเคยชินให้เป็นพฤติกรรมที่ลดเสี่ยงต่อการเกิดโรค และลดโรคที่เป็นแล้วให้เป็นน้อยลง หรือหายเป็นปกติ โดยเฉพาะ 3อ คือ อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ และ 2ส คือ ไม่สูบบุหรี่ และไม่ดื่มสุรา เป็นการ “ปรับก่อนป่วย” เพราะโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง มีปัจจัยเสี่ยงร่วมกับสภาพแวดล้อมและวิถีชีวิตการส่งเสริมสุขภาพจึงเน้นให้ “ประชาชนสุขภาพดี เริ่มต้นที่สร้างนำซ่อม” โดยมีอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ผู้เป็นพลังชุมชนที่สำคัญในการเป็นผู้นำ เป็นต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยมีบทบาทที่สำคัญในการถ่ายทอดความรู้ ทักษะด้านสุขภาพให้แก่คนในชุมชน โดยมีเป้าหมายในการเป็น “คู่หูสุขภาพ” ร่วมรู้สถานะสุขภาพ ร่วมปรับพฤติกรรม ต้านภัยโรคเบาหวานแลความดันโลหิตสูง
เพื่อเป็นการเฝ้าระวัง และส่งเสริมการมีสุขภาพที่ดีของ อสม. ชมรม อสม.หมู่ที่ 4 ต.บุดี จึงได้จัดทำโครงการ อสม.รู้ตน รวมพลังชุมชน ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2568 โดย อสม.และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขร่วมกันดำเนินการตรวจสุขภาพประชาชนกลุ่มเป้าหมาย และดำเนินกิจกรรมลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตจึงได้จัดทำโครงการคัดกรองโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงขึ้น เพื่อให้ประชาชนได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงตามมาตรฐาน พร้อมทั้งจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เพื่อสร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพมีพฤติกรรมที่ดี และได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง ในหลายปีที่ผ่านมา อสม.หมู่ที่ 4 ตำบลบุดี ได้ร่วมกับเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบุดี ดำเนินการคัดกรองโรคเบาหวานความดันโลหิตสุงให้แก่ประชากร 35 ปีขึ้นไปในพื้นที่ตำบลบุดีเป็นประจำทุกปีเพื่อนำข้อมูลที่ได้ไปดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ทั้งกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วย และในปัจจุบันนี้ ชมรมอสม.ของหมู่บ้านมีอุปกรณ์ในการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น คือ เครื่องวัดความดันโลหิต ซึ่งมีไม่เพียงพอเนื่องจากเครื่องมือที่มีอยู่เดิมเกิดการชำรุด เสียหายจากอายุการใช้งานหลายปี อีกทั้งจำนวน อสม.ที่เพิ่มขึ้นและครัวเรือนที่เพิ่มขึ้น ส่งผลให้การดำเนินงานดูแลสุขภาพประชาชนในพื้นที่ไม่มีความคล่องตัว
ดังนั้น ชมรม อสม.หมู่ที่ 4 บ้านบือแนเพื่อรณรงค์คัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ขึ้นโดยการจัดซื้ออุปกรณ์ทางการแพทย์เพื่อใช้ในการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นให้กับประชาชนในพื้นที่หมู่ที่ 4 บ้านบือแน ตำบลบุดี รวมทั้งใช้ในการดูแลกลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูง/เบาหวาน/อัมพฤกษ์ และ โรคอื่นๆ ในพื้นที่และจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ห่างไกลโรคเรื้อรัง ประชาชนในพื้นที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1เพื่อให้ อสม.และประชาชนเกิดความตระหนักด้านสุขภาวะโดยการตรวจสุขภาพ คัดกรอง เฝ้าระวังโรคและป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงของตนเองและชุมชน
- ข้อที่ 2 .อบรมให้ความรู้เพื่อให้เกิดการดำเนินการในการลดปัจจัยเสี่ยง ลดการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของ อสม. และคนในชุมชน -
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.จัดซื้ออุปกรณ์เพื่อใช้ในการคัดกรองตรวจสุขภาพในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป
- จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส.และคัดกรองตรวจสุขภาพความดันโลหิตและเบาหวานในประชาชน/อสม. หมู่ที่ 4 ตำบลบุดี อำเภอเมืองจังหวัดยะลา อายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน อสม.10คน ประชาชน40 คน (รายละเอียดกิจกรรมตามกำหนดการ)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปในพื้นที่ได้รับการคัดกรองตรวจสุขภาพประจำปี
2.ประชาชนได้รับความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและลดอัตราป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ 1เพื่อให้ อสม.และประชาชนเกิดความตระหนักด้านสุขภาวะโดยการตรวจสุขภาพ คัดกรอง เฝ้าระวังโรคและป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงของตนเองและชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการคัดกรองตรวจสุขภาพเบื้องต้น เกิดความตระหนักและเฝ้าระวังป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
1.00
1.00
2
ข้อที่ 2 .อบรมให้ความรู้เพื่อให้เกิดการดำเนินการในการลดปัจจัยเสี่ยง ลดการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของ อสม. และคนในชุมชน -
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ลดปัจจัยเสี่ยง ลดการเกิดโรคและเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพิ่มขึ้น
1.00
1.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1เพื่อให้ อสม.และประชาชนเกิดความตระหนักด้านสุขภาวะโดยการตรวจสุขภาพ คัดกรอง เฝ้าระวังโรคและป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงของตนเองและชุมชน (2) ข้อที่ 2 .อบรมให้ความรู้เพื่อให้เกิดการดำเนินการในการลดปัจจัยเสี่ยง ลดการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของ อสม. และคนในชุมชน -
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.จัดซื้ออุปกรณ์เพื่อใช้ในการคัดกรองตรวจสุขภาพในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป (2) จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส.และคัดกรองตรวจสุขภาพความดันโลหิตและเบาหวานในประชาชน/อสม. หมู่ที่ 4 ตำบลบุดี อำเภอเมืองจังหวัดยะลา อายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน อสม.10คน ประชาชน40 คน (รายละเอียดกิจกรรมตามกำหนดการ)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ อสม.รู้ตน รวมพลังชุมชน ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2568 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2568-L4135-02-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางอามีเนาะ สะแลแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ อสม.รู้ตน รวมพลังชุมชน ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2568 ”
ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางอามีเนาะ สะแลแม
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2568-L4135-02-11 เลขที่ข้อตกลง 21/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ อสม.รู้ตน รวมพลังชุมชน ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2568 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ อสม.รู้ตน รวมพลังชุมชน ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ อสม.รู้ตน รวมพลังชุมชน ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2568-L4135-02-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กระทรวงสาธารณสุขได้มีนโยบายการพัฒนาด้านสุขภาพเพื่อให้ประชาชนทุกคนมีสุขภาพดี อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำรงชีวิตที่ดี เกิดความเท่าเทียมทั่วถึงในการรับบริการสุขภาพของประชาชนทุกคน โดยให้ประชาชนได้รับรู้สถานะของตนเองและเข้าถึงการคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และได้กำหนดให้ดำเนินการพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยให้มีความครอบคลุมในมิติทางด้านสุขภาพทั้ง 4 มิติ คือ มิติด้านการป้องกันโรคการส่งเสริมสุขภาพ การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสภาพ เน้นให้เกิดการสร้างสุขภาพมากกว่าการซ่อมสุขภาพซึ่งเกี่ยวข้องกับความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักด้านสุขภาพ จนเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความเคยชินให้เป็นพฤติกรรมที่ลดเสี่ยงต่อการเกิดโรค และลดโรคที่เป็นแล้วให้เป็นน้อยลง หรือหายเป็นปกติ โดยเฉพาะ 3อ คือ อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ และ 2ส คือ ไม่สูบบุหรี่ และไม่ดื่มสุรา เป็นการ “ปรับก่อนป่วย” เพราะโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง มีปัจจัยเสี่ยงร่วมกับสภาพแวดล้อมและวิถีชีวิตการส่งเสริมสุขภาพจึงเน้นให้ “ประชาชนสุขภาพดี เริ่มต้นที่สร้างนำซ่อม” โดยมีอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ผู้เป็นพลังชุมชนที่สำคัญในการเป็นผู้นำ เป็นต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยมีบทบาทที่สำคัญในการถ่ายทอดความรู้ ทักษะด้านสุขภาพให้แก่คนในชุมชน โดยมีเป้าหมายในการเป็น “คู่หูสุขภาพ” ร่วมรู้สถานะสุขภาพ ร่วมปรับพฤติกรรม ต้านภัยโรคเบาหวานแลความดันโลหิตสูง
เพื่อเป็นการเฝ้าระวัง และส่งเสริมการมีสุขภาพที่ดีของ อสม. ชมรม อสม.หมู่ที่ 4 ต.บุดี จึงได้จัดทำโครงการ อสม.รู้ตน รวมพลังชุมชน ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2568 โดย อสม.และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขร่วมกันดำเนินการตรวจสุขภาพประชาชนกลุ่มเป้าหมาย และดำเนินกิจกรรมลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตจึงได้จัดทำโครงการคัดกรองโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงขึ้น เพื่อให้ประชาชนได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงตามมาตรฐาน พร้อมทั้งจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เพื่อสร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพมีพฤติกรรมที่ดี และได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง ในหลายปีที่ผ่านมา อสม.หมู่ที่ 4 ตำบลบุดี ได้ร่วมกับเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบุดี ดำเนินการคัดกรองโรคเบาหวานความดันโลหิตสุงให้แก่ประชากร 35 ปีขึ้นไปในพื้นที่ตำบลบุดีเป็นประจำทุกปีเพื่อนำข้อมูลที่ได้ไปดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ทั้งกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วย และในปัจจุบันนี้ ชมรมอสม.ของหมู่บ้านมีอุปกรณ์ในการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น คือ เครื่องวัดความดันโลหิต ซึ่งมีไม่เพียงพอเนื่องจากเครื่องมือที่มีอยู่เดิมเกิดการชำรุด เสียหายจากอายุการใช้งานหลายปี อีกทั้งจำนวน อสม.ที่เพิ่มขึ้นและครัวเรือนที่เพิ่มขึ้น ส่งผลให้การดำเนินงานดูแลสุขภาพประชาชนในพื้นที่ไม่มีความคล่องตัว
ดังนั้น ชมรม อสม.หมู่ที่ 4 บ้านบือแนเพื่อรณรงค์คัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ขึ้นโดยการจัดซื้ออุปกรณ์ทางการแพทย์เพื่อใช้ในการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นให้กับประชาชนในพื้นที่หมู่ที่ 4 บ้านบือแน ตำบลบุดี รวมทั้งใช้ในการดูแลกลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูง/เบาหวาน/อัมพฤกษ์ และ โรคอื่นๆ ในพื้นที่และจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ห่างไกลโรคเรื้อรัง ประชาชนในพื้นที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1เพื่อให้ อสม.และประชาชนเกิดความตระหนักด้านสุขภาวะโดยการตรวจสุขภาพ คัดกรอง เฝ้าระวังโรคและป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงของตนเองและชุมชน
- ข้อที่ 2 .อบรมให้ความรู้เพื่อให้เกิดการดำเนินการในการลดปัจจัยเสี่ยง ลดการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของ อสม. และคนในชุมชน -
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.จัดซื้ออุปกรณ์เพื่อใช้ในการคัดกรองตรวจสุขภาพในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป
- จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส.และคัดกรองตรวจสุขภาพความดันโลหิตและเบาหวานในประชาชน/อสม. หมู่ที่ 4 ตำบลบุดี อำเภอเมืองจังหวัดยะลา อายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน อสม.10คน ประชาชน40 คน (รายละเอียดกิจกรรมตามกำหนดการ)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปในพื้นที่ได้รับการคัดกรองตรวจสุขภาพประจำปี 2.ประชาชนได้รับความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและลดอัตราป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1เพื่อให้ อสม.และประชาชนเกิดความตระหนักด้านสุขภาวะโดยการตรวจสุขภาพ คัดกรอง เฝ้าระวังโรคและป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงของตนเองและชุมชน ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการคัดกรองตรวจสุขภาพเบื้องต้น เกิดความตระหนักและเฝ้าระวังป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง |
1.00 | 1.00 |
|
|
2 | ข้อที่ 2 .อบรมให้ความรู้เพื่อให้เกิดการดำเนินการในการลดปัจจัยเสี่ยง ลดการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของ อสม. และคนในชุมชน - ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ลดปัจจัยเสี่ยง ลดการเกิดโรคและเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพิ่มขึ้น |
1.00 | 1.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1เพื่อให้ อสม.และประชาชนเกิดความตระหนักด้านสุขภาวะโดยการตรวจสุขภาพ คัดกรอง เฝ้าระวังโรคและป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงของตนเองและชุมชน (2) ข้อที่ 2 .อบรมให้ความรู้เพื่อให้เกิดการดำเนินการในการลดปัจจัยเสี่ยง ลดการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของ อสม. และคนในชุมชน -
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.จัดซื้ออุปกรณ์เพื่อใช้ในการคัดกรองตรวจสุขภาพในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป (2) จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส.และคัดกรองตรวจสุขภาพความดันโลหิตและเบาหวานในประชาชน/อสม. หมู่ที่ 4 ตำบลบุดี อำเภอเมืองจังหวัดยะลา อายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน อสม.10คน ประชาชน40 คน (รายละเอียดกิจกรรมตามกำหนดการ)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ อสม.รู้ตน รวมพลังชุมชน ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2568 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2568-L4135-02-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางอามีเนาะ สะแลแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......