โครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ปี 2568 ”
ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางซัยนับ โตะมะเล๊าะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ปี 2568
ที่อยู่ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2568-L4135-02-15 เลขที่ข้อตกลง 25/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ปี 2568 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2568-L4135-02-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การมีมาตรการเชิงรุกในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โดยมีการคัดกรองพฤติกรรมการเกิดโรคโดยมีเป้าหมายเป็นประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ต้องได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงด้วยการวัดความดันโลหิต การชั่งน้ำหนัก วัดความสูงและการวัดเส้นรอบพุง การเจาะน้ำตาลในเลือดเพื่อค้นหาพฤติกรรมเสี่ยงและค้นหาโรคในระยะเริ่มต้นเพื่อที่จะมีการดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงโดยเป้าหมายกลุ่มเสี่ยงต้องได้รับความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมรวมทั้งกลุ่มที่สงสัยจะเป็นโรคต้องส่งไปรับการรักษาตั้งแต่เริ่มแรกทุกรายในรายที่ป่วยแล้วได้รับการตรวจประเมินภาวะโรคอันจะส่งผลให้ลดความรุนแรงของโรค ดังนั้น ดำเนินงานเน้นนโยบายเชิงรุกเร่งการป้องกันโรคโดยใช้เครือข่ายระหว่าง รพ.สต.กับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) เพราะการดำเนินงานควบคุมและป้องกันโรค ที่เกิดจากพฤติกรรมของประชาชนจะประสบความสำเร็จมีประสิทธิภาพและเกิดความต่อเนืองยั่งยืน จำเป็นอย่างยิ่งต้องอาศัยความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องทุกส่วน และใช้กระบวนการที่บูรณาการเชื่อมโยงการดำเนินงาน โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคที่เป็นปัญหาที่สำคัญในพื้นที่ หมู่ที่ 8 บ้านบุดีฮิเลร์ มีประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน ...702....คน อาสาสมัครสาธารณสุขจำนวน ..21... คน และเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) บ้านบุดีฮีเลร์ หมู่ที่ 8 ตำบลบุดี จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงขึ้น เพื่อให้ประชาชนได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงตามมาตรฐาน พร้อมทั้งจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เพื่อสร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพมีพฤติกรรมที่ดี และได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง ในหลายปีที่ผ่านมา อสม.หมู่ที่ 8 ตำบลบุดี ได้ร่วมกับเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบุดี ดำเนินการคัดกรองโรคเบาหวานความดันโลหิตสุงให้แก่ประชากร 35 ปีขึ้นไปในพื้นที่ตำบลบุดีเป็นประจำทุกปีเพื่อนำข้อมูลที่ได้ไปดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ทั้งกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วย และในปัจจุบันนี้ ชมรมอสม.ของหมู่บ้านมีอุปกรณ์ในการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น คือ เครื่องวัดความดันโลหิต ซึ่งมีไม่เพียงพอเนื่องจากเครื่องมือที่มีอยู่เดิมเกิดการชำรุด เสียหายจากอายุการใช้งานหลายปี อีกทั้งจำนวน อสม.ที่เพิ่มขึ้นและครัวเรือนที่เพิ่มขึ้น ส่งผลให้การดำเนินงานดูแลสุขภาพประชาชนในพื้นที่ไม่มีความคล่องตัว ดังนั้น ชมรม อสม.หมู่ที่ 8 บ้านบุดีฮีเลร์ จึงได้จัดทำโครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ปี 2568 เพื่อรณรงค์คัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ขึ้นโดยการจัดซื้ออุปกรณ์ทางการแพทย์เพื่อใช้ในการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นให้กับประชาชนในพื้นที่หมู่ที่ 8 บ้านบุดีฮีเลร์ ตำบลบุดี รวมทั้งใช้ในการดูแลกลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูง/เบาหวาน/อัมพฤกษ์ และ โรคอื่นๆ ในพื้นที่และจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ห่างไกลโรคเรื้อรัง ประชาชนในพื้นที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อคัดกรองความดันโลหิตและเบาหวานในประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป
- ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้นำความรู้การดูแลสุขภาพสามารถนำไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดซื้ออุปกรณ์เพื่อใช้ในการคัดกรองตรวจสุขภาพในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป
- จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส.และคัดกรองตรวจสุขภาพความดันโลหิตและเบาหวานในประชาชน หมู่ที่ 8 ตำบลบุดี อำเภอเมืองจังหวัดยะลา อายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 50 คน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปในพื้นที่ได้รับการคัดกรองตรวจสุขภาพประจำปี
2.ประชาชนได้รับความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและลดอัตราป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ 1 เพื่อคัดกรองความดันโลหิตและเบาหวานในประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการคัดกรองตรวจสุขภาพเบื้องต้น
0.00
2
ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้นำความรู้การดูแลสุขภาพสามารถนำไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพิ่มขึ้น
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อคัดกรองความดันโลหิตและเบาหวานในประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้นำความรู้การดูแลสุขภาพสามารถนำไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดซื้ออุปกรณ์เพื่อใช้ในการคัดกรองตรวจสุขภาพในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป (2) จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส.และคัดกรองตรวจสุขภาพความดันโลหิตและเบาหวานในประชาชน หมู่ที่ 8 ตำบลบุดี อำเภอเมืองจังหวัดยะลา อายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 50 คน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ปี 2568 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2568-L4135-02-15
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางซัยนับ โตะมะเล๊าะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ปี 2568 ”
ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางซัยนับ โตะมะเล๊าะ
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2568-L4135-02-15 เลขที่ข้อตกลง 25/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ปี 2568 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2568-L4135-02-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การมีมาตรการเชิงรุกในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โดยมีการคัดกรองพฤติกรรมการเกิดโรคโดยมีเป้าหมายเป็นประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ต้องได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงด้วยการวัดความดันโลหิต การชั่งน้ำหนัก วัดความสูงและการวัดเส้นรอบพุง การเจาะน้ำตาลในเลือดเพื่อค้นหาพฤติกรรมเสี่ยงและค้นหาโรคในระยะเริ่มต้นเพื่อที่จะมีการดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงโดยเป้าหมายกลุ่มเสี่ยงต้องได้รับความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมรวมทั้งกลุ่มที่สงสัยจะเป็นโรคต้องส่งไปรับการรักษาตั้งแต่เริ่มแรกทุกรายในรายที่ป่วยแล้วได้รับการตรวจประเมินภาวะโรคอันจะส่งผลให้ลดความรุนแรงของโรค ดังนั้น ดำเนินงานเน้นนโยบายเชิงรุกเร่งการป้องกันโรคโดยใช้เครือข่ายระหว่าง รพ.สต.กับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) เพราะการดำเนินงานควบคุมและป้องกันโรค ที่เกิดจากพฤติกรรมของประชาชนจะประสบความสำเร็จมีประสิทธิภาพและเกิดความต่อเนืองยั่งยืน จำเป็นอย่างยิ่งต้องอาศัยความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องทุกส่วน และใช้กระบวนการที่บูรณาการเชื่อมโยงการดำเนินงาน โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคที่เป็นปัญหาที่สำคัญในพื้นที่ หมู่ที่ 8 บ้านบุดีฮิเลร์ มีประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน ...702....คน อาสาสมัครสาธารณสุขจำนวน ..21... คน และเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) บ้านบุดีฮีเลร์ หมู่ที่ 8 ตำบลบุดี จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงขึ้น เพื่อให้ประชาชนได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงตามมาตรฐาน พร้อมทั้งจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เพื่อสร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพมีพฤติกรรมที่ดี และได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง ในหลายปีที่ผ่านมา อสม.หมู่ที่ 8 ตำบลบุดี ได้ร่วมกับเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบุดี ดำเนินการคัดกรองโรคเบาหวานความดันโลหิตสุงให้แก่ประชากร 35 ปีขึ้นไปในพื้นที่ตำบลบุดีเป็นประจำทุกปีเพื่อนำข้อมูลที่ได้ไปดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ทั้งกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วย และในปัจจุบันนี้ ชมรมอสม.ของหมู่บ้านมีอุปกรณ์ในการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น คือ เครื่องวัดความดันโลหิต ซึ่งมีไม่เพียงพอเนื่องจากเครื่องมือที่มีอยู่เดิมเกิดการชำรุด เสียหายจากอายุการใช้งานหลายปี อีกทั้งจำนวน อสม.ที่เพิ่มขึ้นและครัวเรือนที่เพิ่มขึ้น ส่งผลให้การดำเนินงานดูแลสุขภาพประชาชนในพื้นที่ไม่มีความคล่องตัว ดังนั้น ชมรม อสม.หมู่ที่ 8 บ้านบุดีฮีเลร์ จึงได้จัดทำโครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ปี 2568 เพื่อรณรงค์คัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ขึ้นโดยการจัดซื้ออุปกรณ์ทางการแพทย์เพื่อใช้ในการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นให้กับประชาชนในพื้นที่หมู่ที่ 8 บ้านบุดีฮีเลร์ ตำบลบุดี รวมทั้งใช้ในการดูแลกลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูง/เบาหวาน/อัมพฤกษ์ และ โรคอื่นๆ ในพื้นที่และจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ห่างไกลโรคเรื้อรัง ประชาชนในพื้นที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อคัดกรองความดันโลหิตและเบาหวานในประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป
- ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้นำความรู้การดูแลสุขภาพสามารถนำไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดซื้ออุปกรณ์เพื่อใช้ในการคัดกรองตรวจสุขภาพในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป
- จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส.และคัดกรองตรวจสุขภาพความดันโลหิตและเบาหวานในประชาชน หมู่ที่ 8 ตำบลบุดี อำเภอเมืองจังหวัดยะลา อายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 50 คน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปในพื้นที่ได้รับการคัดกรองตรวจสุขภาพประจำปี 2.ประชาชนได้รับความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและลดอัตราป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1 เพื่อคัดกรองความดันโลหิตและเบาหวานในประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการคัดกรองตรวจสุขภาพเบื้องต้น |
0.00 |
|
||
2 | ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้นำความรู้การดูแลสุขภาพสามารถนำไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพิ่มขึ้น |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อคัดกรองความดันโลหิตและเบาหวานในประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้นำความรู้การดูแลสุขภาพสามารถนำไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดซื้ออุปกรณ์เพื่อใช้ในการคัดกรองตรวจสุขภาพในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป (2) จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส.และคัดกรองตรวจสุขภาพความดันโลหิตและเบาหวานในประชาชน หมู่ที่ 8 ตำบลบุดี อำเภอเมืองจังหวัดยะลา อายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 50 คน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ปี 2568 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2568-L4135-02-15
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางซัยนับ โตะมะเล๊าะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......