โครงการแอโรบิคยามเช้า
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการแอโรบิคยามเช้า ”
ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางจันทรา พัทยัง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปูน
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการแอโรบิคยามเช้า
ที่อยู่ ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1528-2-11 เลขที่ข้อตกลง 08/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแอโรบิคยามเช้า จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปูน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแอโรบิคยามเช้า
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแอโรบิคยามเช้า " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1528-2-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,905.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปูน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันสังคมของไทยเริ่มเปลี่ยนไปจากอดีตเปลี่ยนแปลงไปตามกระแสโลกาภิวัตน์ จากสภาพสังคมเกษตรกรรมเป็นสังคมอุตสาหกรรม เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและสภาพแวดล้อม ทำให้หลายคนมองข้ามการออกกำลังกายหลายคนอ้างไม่มีเวลา บางคนเข้าใจว่าการเปลี่ยนแปลงอิริยาบถในชีวิตประจำวันเป็นการออกกำลังกาย จึงเป็นเหตุให้สุขภาพอ่อนแอลงและอาจประสบกับปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ ตามมา เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคอ้วน โรคมะเร็ง ความเครียด ฯลฯ ทำให้ระบบสุขภาพของคนไทยต้องเน้นการ "สร้าง" มากกว่าการ "ซ่อม" สุขภาพ ซึ่งเป็นการเน้นระบบสุขภาพเชิงรุกและการสร้างเสริมสุขภาพ เนื่องจากประชาชนป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้เป็นส่วนใหญ่ทำให้สิ้นเปลืองงบประมาณและค่าใช้จ่ายในการเยียวยารักษา จึงได้มีการรณรงค์ให้ประชาชนได้มาใส่ใจในการออกกกาลังกายเพื่อดูแลสุขภาพร่างกายให้ดีขึ้น การออกกำลังกายเป็นสิ่งที่มีความสำคัญเป็นอย่างมากและควรกระทำอย่างสม่ำเสมอ เพราะเป็นการส่งเสริมสุขภาพร่างกายให้แข็งแรง ห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ การออกกำลังกายอาจจะอยู่ในรูปแบบของการเดิน-วิ่ง การปั่นจักรยาน ว่ายน้ำ เต้นแอโรบิค เป็นต้น
โรงเรีนบ้านควนตังจึงเห็นความสำคัญของการมีสุขภาพที่ดี ซึ่งจะส่งผลให้เด็กมีความพร้อมต่อการเรียนรู้ การออกกำลังกายเป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยพัฒนาสุขภาพกาย และสุขภาพใจของนักเรียน โรงเรีนบ้านควนตังจึงได้จัดทำโครงการเพื่อส่งเสริมสุขภาพขึ้น ซึ่งเน้นว่าการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค เป็นการกระตุ้นให้เกิดความกระปรี้กระเปร่า ตื่นตัว เสริมสร้างให้ร่างกายแข็งแรง ช่วยลดความอ่อนล้า สร้างความคล่องตัวและลดการเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่าง ๆ ดังนั้นโรงเรียนบ้านควนตังจึงได้จัดทำโครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ “แอโรบิคยามเช้า” ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรงและสุขภาพจิตที่ดี
- เพื่อกระตุ้นพัฒนาการของนักเรียนให้สมกับวัย
- เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้ฝึกทำกิจกรรมร่วมกับครูและเพื่อนๆ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพทางร่างกายและจิตใจ 2.กิจกรรมออกกำลังกายและร้องเพลง ในเวลา 8.00 – 08.30 น. เป็นประจำสัปดาห์ละ 3 ครั้ง จนสิ้นโครงการ
- 1. จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพทางร่างกายและจิตใจ 2.กิจกรรมออกกำลังกายและร้องเพลง ในเวลา 8.00 – 08.30 น. เป็นประจำสัปดาห์ละ 3 ครั้ง จนสิ้นโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
89
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงและสุขภาพจิตดี
- นักเรียนสนุกสนานกับกิจกรรม
- นักเรียนมีร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรงและมีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย
- นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวการออกกำลังกายขั้นพื้นฐาน และประโยชน์ของการออกกำลังกาย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรงและสุขภาพจิตที่ดี
ตัวชี้วัด : นักเรียนได้รับการส่งเสริมให้มีร่างกายที่สมบูรณ์และแข็งแรง
2
เพื่อกระตุ้นพัฒนาการของนักเรียนให้สมกับวัย
ตัวชี้วัด : นักเรียนได้รับการส่งเสริมให้มีร่างกายที่สมบูรณ์และแข็งแรง
3
เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้ฝึกทำกิจกรรมร่วมกับครูและเพื่อนๆ
ตัวชี้วัด : นักเรียนได้รับการส่งเสริมให้มีร่างกายที่สมบูรณ์และแข็งแรง
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
89
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
89
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรงและสุขภาพจิตที่ดี (2) เพื่อกระตุ้นพัฒนาการของนักเรียนให้สมกับวัย (3) เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้ฝึกทำกิจกรรมร่วมกับครูและเพื่อนๆ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพทางร่างกายและจิตใจ 2.กิจกรรมออกกำลังกายและร้องเพลง ในเวลา 8.00 – 08.30 น. เป็นประจำสัปดาห์ละ 3 ครั้ง จนสิ้นโครงการ (2) 1. จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพทางร่างกายและจิตใจ 2.กิจกรรมออกกำลังกายและร้องเพลง ในเวลา 8.00 – 08.30 น. เป็นประจำสัปดาห์ละ 3 ครั้ง จนสิ้นโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการแอโรบิคยามเช้า จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1528-2-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางจันทรา พัทยัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการแอโรบิคยามเช้า ”
ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางจันทรา พัทยัง
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1528-2-11 เลขที่ข้อตกลง 08/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแอโรบิคยามเช้า จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปูน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแอโรบิคยามเช้า
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแอโรบิคยามเช้า " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1528-2-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,905.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปูน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันสังคมของไทยเริ่มเปลี่ยนไปจากอดีตเปลี่ยนแปลงไปตามกระแสโลกาภิวัตน์ จากสภาพสังคมเกษตรกรรมเป็นสังคมอุตสาหกรรม เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและสภาพแวดล้อม ทำให้หลายคนมองข้ามการออกกำลังกายหลายคนอ้างไม่มีเวลา บางคนเข้าใจว่าการเปลี่ยนแปลงอิริยาบถในชีวิตประจำวันเป็นการออกกำลังกาย จึงเป็นเหตุให้สุขภาพอ่อนแอลงและอาจประสบกับปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ ตามมา เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคอ้วน โรคมะเร็ง ความเครียด ฯลฯ ทำให้ระบบสุขภาพของคนไทยต้องเน้นการ "สร้าง" มากกว่าการ "ซ่อม" สุขภาพ ซึ่งเป็นการเน้นระบบสุขภาพเชิงรุกและการสร้างเสริมสุขภาพ เนื่องจากประชาชนป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้เป็นส่วนใหญ่ทำให้สิ้นเปลืองงบประมาณและค่าใช้จ่ายในการเยียวยารักษา จึงได้มีการรณรงค์ให้ประชาชนได้มาใส่ใจในการออกกกาลังกายเพื่อดูแลสุขภาพร่างกายให้ดีขึ้น การออกกำลังกายเป็นสิ่งที่มีความสำคัญเป็นอย่างมากและควรกระทำอย่างสม่ำเสมอ เพราะเป็นการส่งเสริมสุขภาพร่างกายให้แข็งแรง ห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ การออกกำลังกายอาจจะอยู่ในรูปแบบของการเดิน-วิ่ง การปั่นจักรยาน ว่ายน้ำ เต้นแอโรบิค เป็นต้น โรงเรีนบ้านควนตังจึงเห็นความสำคัญของการมีสุขภาพที่ดี ซึ่งจะส่งผลให้เด็กมีความพร้อมต่อการเรียนรู้ การออกกำลังกายเป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยพัฒนาสุขภาพกาย และสุขภาพใจของนักเรียน โรงเรีนบ้านควนตังจึงได้จัดทำโครงการเพื่อส่งเสริมสุขภาพขึ้น ซึ่งเน้นว่าการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค เป็นการกระตุ้นให้เกิดความกระปรี้กระเปร่า ตื่นตัว เสริมสร้างให้ร่างกายแข็งแรง ช่วยลดความอ่อนล้า สร้างความคล่องตัวและลดการเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่าง ๆ ดังนั้นโรงเรียนบ้านควนตังจึงได้จัดทำโครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ “แอโรบิคยามเช้า” ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรงและสุขภาพจิตที่ดี
- เพื่อกระตุ้นพัฒนาการของนักเรียนให้สมกับวัย
- เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้ฝึกทำกิจกรรมร่วมกับครูและเพื่อนๆ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพทางร่างกายและจิตใจ 2.กิจกรรมออกกำลังกายและร้องเพลง ในเวลา 8.00 – 08.30 น. เป็นประจำสัปดาห์ละ 3 ครั้ง จนสิ้นโครงการ
- 1. จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพทางร่างกายและจิตใจ 2.กิจกรรมออกกำลังกายและร้องเพลง ในเวลา 8.00 – 08.30 น. เป็นประจำสัปดาห์ละ 3 ครั้ง จนสิ้นโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 89 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงและสุขภาพจิตดี
- นักเรียนสนุกสนานกับกิจกรรม
- นักเรียนมีร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรงและมีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย
- นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวการออกกำลังกายขั้นพื้นฐาน และประโยชน์ของการออกกำลังกาย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรงและสุขภาพจิตที่ดี ตัวชี้วัด : นักเรียนได้รับการส่งเสริมให้มีร่างกายที่สมบูรณ์และแข็งแรง |
|
|||
2 | เพื่อกระตุ้นพัฒนาการของนักเรียนให้สมกับวัย ตัวชี้วัด : นักเรียนได้รับการส่งเสริมให้มีร่างกายที่สมบูรณ์และแข็งแรง |
|
|||
3 | เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้ฝึกทำกิจกรรมร่วมกับครูและเพื่อนๆ ตัวชี้วัด : นักเรียนได้รับการส่งเสริมให้มีร่างกายที่สมบูรณ์และแข็งแรง |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 89 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 89 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรงและสุขภาพจิตที่ดี (2) เพื่อกระตุ้นพัฒนาการของนักเรียนให้สมกับวัย (3) เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้ฝึกทำกิจกรรมร่วมกับครูและเพื่อนๆ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพทางร่างกายและจิตใจ 2.กิจกรรมออกกำลังกายและร้องเพลง ในเวลา 8.00 – 08.30 น. เป็นประจำสัปดาห์ละ 3 ครั้ง จนสิ้นโครงการ (2) 1. จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพทางร่างกายและจิตใจ 2.กิจกรรมออกกำลังกายและร้องเพลง ในเวลา 8.00 – 08.30 น. เป็นประจำสัปดาห์ละ 3 ครั้ง จนสิ้นโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการแอโรบิคยามเช้า จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1528-2-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางจันทรา พัทยัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......