โครงการเก็บให้เกลี้ยง ไม่เลี้ยงยุงลาย ปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเก็บให้เกลี้ยง ไม่เลี้ยงยุงลาย ปี 2568 ”
ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายสะมะแอ จินตรา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาตอง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการเก็บให้เกลี้ยง ไม่เลี้ยงยุงลาย ปี 2568
ที่อยู่ ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4145-05-06 เลขที่ข้อตกลง 007
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเก็บให้เกลี้ยง ไม่เลี้ยงยุงลาย ปี 2568 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาตอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเก็บให้เกลี้ยง ไม่เลี้ยงยุงลาย ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเก็บให้เกลี้ยง ไม่เลี้ยงยุงลาย ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4145-05-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาตอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากรายงานทางระบาดวิทยาของสำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค ข้อมูล ณ วันที่ 11 กันยายน 2567 สถานการณ์โรคไข้เลือดออกปี 2567 พบว่าประเทศไทยมีผู้ป่วยจำนวน 98,946 ราย เสียชีวิต 83 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 116.04 ต่อแสนประชากร อัตราป่วยตายร้อยละ 0.10 และในจังหวัดยะลา มีรายงาน พบผู้ป่วยไข้เลือดออกจำนวน 6,985 ราย มีผู้ป่วยเสียชีวิต 15 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 10.04 ต่อแสนประชากร อัตราป่วยตายร้อยละ 0.09 จากการสำรวจและศึกษาข้อมูลย้อนหลังของโรงพยาบาลสุขภาพตำบลบ้านกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา การระบาดของโรคไข้เลือดออกในปีพ.ศ. 2556 มีผู้ป่วย 6 ราย อัตราป่วย 127.93 ต่อแสน ประชากร ปีพ.ศ.2557 มีผู้ป่วย 2 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 40.89 ต่อแสน โดยหลักวิทยาการระบาดของโรคไข้เลือดออก พบว่าในชุมชนใดไม่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออกย้อนหลัง 1-2 ปี ถ้าเกิดการระบาดของโรคจะมีความรุนแรงมากขึ้น เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและควบคุมป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออก จากการทำประชาคม เรื่องที่เป็นปัญหาด้านสุขภาพและประชาชนต้องการการแก้ไขปัญหามาก ที่สุดคือ ปัญหาโรคไข้เลือดออก เนื่องจากประชาชนพบว่ามีความชุกของลูกน้ำยุงลายอยู่ ซึ่งถ้ายังมีลูกน้ำยุงลายก็มีความเสี่ยงที่จะเกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออก และจากการสำรวจชุมชนพบว่าภายในชุมชนมี สิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่ไม่เหมาะสม บางครัวเรือนจัดวางสิ่งของไม่เป็นระเบียบ ทิ้งขยะไม่ถูกที่ และภาชนะรองน้ำไม่มีฝาปิดมิดชิด ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ชมรม SRRT และชุมชนเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านกาตอง จึงได้จัดทำโครงการ“เก็บให้เกลี้ยงไม่เลี้ยงยุงลาย” เพื่อลดความชุกของลูกน้ำยุงลายและ เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจสามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง ตลอดจนกระตุ้นเตือนให้ประชาชนใน ชุมชนและทุกภาคส่วนร่วมมือกันในการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกและการจัดการสภาพแวดล้อม ขยะมูลฝอย บริเวณที่อยู่อาศัยให้สะอาดถูกสุขลักษณะด้วยหลัก 5 ส. 3 ก.
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้คนในชุมชนมีความรู้ในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดร้อยละ 90
- เพื่อให้คนในชุมชนมีพฤติกรรมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดที่ถูกต้องร้อยละ 90
- เพื่อลดความชุกของลูกน้ำยุงลาย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ขั้นเตรียมการ
- ขั้นดำเนินการ
- 5. ดำเนินกิจกรรมควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
- ขั้นดำเนินการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนมีความรู้หลังการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกร้อยละ 90
- ประชาชนมีพฤติกรรมหลังการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกที่ถูกต้อง ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90 4. ค่าเฉลี่ยจากการสำรวจค่า HI ,BI ,CI ในหมู่ที่ 2,4,6 ตำบลกาตอง หลังเสร็จสิ้นโครงการน้อยกว่าก่อนเริ่ม โครงการโดย HI≤10 ,BI≤50 ,CI=0
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้คนในชุมชนมีความรู้ในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดร้อยละ 90
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90
80.00
2
เพื่อให้คนในชุมชนมีพฤติกรรมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดที่ถูกต้องร้อยละ 90
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90
80.00
3
เพื่อลดความชุกของลูกน้ำยุงลาย
ตัวชี้วัด : เพื่อลดความชุกของลูกน้ำยุงลาย
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้คนในชุมชนมีความรู้ในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดร้อยละ 90 (2) เพื่อให้คนในชุมชนมีพฤติกรรมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดที่ถูกต้องร้อยละ 90 (3) เพื่อลดความชุกของลูกน้ำยุงลาย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ขั้นเตรียมการ (2) ขั้นดำเนินการ (3) 5. ดำเนินกิจกรรมควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก (4) ขั้นดำเนินการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเก็บให้เกลี้ยง ไม่เลี้ยงยุงลาย ปี 2568 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4145-05-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสะมะแอ จินตรา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเก็บให้เกลี้ยง ไม่เลี้ยงยุงลาย ปี 2568 ”
ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายสะมะแอ จินตรา
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4145-05-06 เลขที่ข้อตกลง 007
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเก็บให้เกลี้ยง ไม่เลี้ยงยุงลาย ปี 2568 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาตอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเก็บให้เกลี้ยง ไม่เลี้ยงยุงลาย ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเก็บให้เกลี้ยง ไม่เลี้ยงยุงลาย ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4145-05-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาตอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากรายงานทางระบาดวิทยาของสำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค ข้อมูล ณ วันที่ 11 กันยายน 2567 สถานการณ์โรคไข้เลือดออกปี 2567 พบว่าประเทศไทยมีผู้ป่วยจำนวน 98,946 ราย เสียชีวิต 83 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 116.04 ต่อแสนประชากร อัตราป่วยตายร้อยละ 0.10 และในจังหวัดยะลา มีรายงาน พบผู้ป่วยไข้เลือดออกจำนวน 6,985 ราย มีผู้ป่วยเสียชีวิต 15 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 10.04 ต่อแสนประชากร อัตราป่วยตายร้อยละ 0.09 จากการสำรวจและศึกษาข้อมูลย้อนหลังของโรงพยาบาลสุขภาพตำบลบ้านกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา การระบาดของโรคไข้เลือดออกในปีพ.ศ. 2556 มีผู้ป่วย 6 ราย อัตราป่วย 127.93 ต่อแสน ประชากร ปีพ.ศ.2557 มีผู้ป่วย 2 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 40.89 ต่อแสน โดยหลักวิทยาการระบาดของโรคไข้เลือดออก พบว่าในชุมชนใดไม่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออกย้อนหลัง 1-2 ปี ถ้าเกิดการระบาดของโรคจะมีความรุนแรงมากขึ้น เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและควบคุมป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออก จากการทำประชาคม เรื่องที่เป็นปัญหาด้านสุขภาพและประชาชนต้องการการแก้ไขปัญหามาก ที่สุดคือ ปัญหาโรคไข้เลือดออก เนื่องจากประชาชนพบว่ามีความชุกของลูกน้ำยุงลายอยู่ ซึ่งถ้ายังมีลูกน้ำยุงลายก็มีความเสี่ยงที่จะเกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออก และจากการสำรวจชุมชนพบว่าภายในชุมชนมี สิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่ไม่เหมาะสม บางครัวเรือนจัดวางสิ่งของไม่เป็นระเบียบ ทิ้งขยะไม่ถูกที่ และภาชนะรองน้ำไม่มีฝาปิดมิดชิด ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ชมรม SRRT และชุมชนเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านกาตอง จึงได้จัดทำโครงการ“เก็บให้เกลี้ยงไม่เลี้ยงยุงลาย” เพื่อลดความชุกของลูกน้ำยุงลายและ เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจสามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง ตลอดจนกระตุ้นเตือนให้ประชาชนใน ชุมชนและทุกภาคส่วนร่วมมือกันในการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกและการจัดการสภาพแวดล้อม ขยะมูลฝอย บริเวณที่อยู่อาศัยให้สะอาดถูกสุขลักษณะด้วยหลัก 5 ส. 3 ก.
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้คนในชุมชนมีความรู้ในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดร้อยละ 90
- เพื่อให้คนในชุมชนมีพฤติกรรมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดที่ถูกต้องร้อยละ 90
- เพื่อลดความชุกของลูกน้ำยุงลาย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ขั้นเตรียมการ
- ขั้นดำเนินการ
- 5. ดำเนินกิจกรรมควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
- ขั้นดำเนินการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนมีความรู้หลังการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกร้อยละ 90
- ประชาชนมีพฤติกรรมหลังการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกที่ถูกต้อง ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90 4. ค่าเฉลี่ยจากการสำรวจค่า HI ,BI ,CI ในหมู่ที่ 2,4,6 ตำบลกาตอง หลังเสร็จสิ้นโครงการน้อยกว่าก่อนเริ่ม โครงการโดย HI≤10 ,BI≤50 ,CI=0
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้คนในชุมชนมีความรู้ในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดร้อยละ 90 ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 |
80.00 |
|
||
2 | เพื่อให้คนในชุมชนมีพฤติกรรมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดที่ถูกต้องร้อยละ 90 ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 |
80.00 |
|
||
3 | เพื่อลดความชุกของลูกน้ำยุงลาย ตัวชี้วัด : เพื่อลดความชุกของลูกน้ำยุงลาย |
80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้คนในชุมชนมีความรู้ในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดร้อยละ 90 (2) เพื่อให้คนในชุมชนมีพฤติกรรมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดที่ถูกต้องร้อยละ 90 (3) เพื่อลดความชุกของลูกน้ำยุงลาย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ขั้นเตรียมการ (2) ขั้นดำเนินการ (3) 5. ดำเนินกิจกรรมควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก (4) ขั้นดำเนินการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเก็บให้เกลี้ยง ไม่เลี้ยงยุงลาย ปี 2568 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4145-05-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสะมะแอ จินตรา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......