กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการตรวจหาสารเคมีในเลือดกลุ่มเกษตรกร ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางสาวมุมีนะห์ ไชยจันทร์




ชื่อโครงการ โครงการตรวจหาสารเคมีในเลือดกลุ่มเกษตรกร ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 68-L84225-01-07 เลขที่ข้อตกลง 68-L8422-01-07

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตรวจหาสารเคมีในเลือดกลุ่มเกษตรกร ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจหาสารเคมีในเลือดกลุ่มเกษตรกร ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตรวจหาสารเคมีในเลือดกลุ่มเกษตรกร ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L84225-01-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 2,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สารเคมีกำจัดศัตรูพืช สามารถก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพร่างกายได้ทั้งมนุษย์และสัตว์ คือ จะทำลายอวัยวะภายในร่างกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมอง ผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสืบพันธ์และตา ซึ่งขึ้นอยู่กับปริมาณที่ได้รับสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใด และปริมาณมากน้อยเท่าใด ส่วนใหญ่การที่อวัยวะในร่างกายได้สะสมสารเคมีไว้จนถึงขีดที่ร่างกาย ไม่อาจทนได้ จึงแสดงอาการต่าง ๆ ขึ้นมา เช่นโรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือดและระบบภูมิคุ้มกัน เป็นต้น ประชาชนส่วนใหญ่ในพื้นที่ตำบลจวบ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ร้อยละ85.98 (สำนักงานเกษตร อำเภอเจาะไอร้อง 2567) และมีการมีการใช้พื้นที่ที่ใช้ในการเกษตรมากถึง ร้อยละ 80 ของพื้นที่ทั้งหมด ซึ่งประกอบด้วย พื้นที่ส่วนยางพารา สวนผลไม้ และปลูกผักสวนครัว ผลกระทบจากการใช้สารเคมีในการควบคุมและกำจัดศัตรูพืช จึงกระจายและขยายเป็นวงกว้าง ดังนั้น โรงพยาบาลเจาะไอร้อง ได้เล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพเกษตรกรในพื้นที่รับผิดชอบ
จึงได้จัดทำโครงการโครงการตรวจหาสารเคมีในเลือดกลุ่มเกษตรกร ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2568 ขึ้น เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ที่รับผิดชอบ ได้รับการตรวจสุขภาพและเจาะเลือด เพื่อดูว่ามีปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่ในระดับใด และจัดอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการแก่เกษตรกรในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่ถูกต้อง เพื่อให้เกษตรกรเกิดความตระหนักในการป้องกันตนเองจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช และปลอดโรคจากการทำงานต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อตรวจหาปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกร ตำบลจวบ
  2. เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ตรวจหาสารเคมีในเลือดกลุ่มเกษตรกรตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง ปีงบประมาณ 2568

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ทราบถึงสถานการณ์สารเคมีตกค้างในเลือดของกลุ่มเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงในตำบลจวบ
  2. ประชากรกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ ทักษะการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างปลอดภัย
  3. ประชากรกลุ่มเสี่ยง ได้รับการบำบัดรักษาที่ถูกต้อง และสามารถป้องกันไม่ให้สารเคมีเข้าร่างกายจนเป็นอันตราย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อตรวจหาปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกร ตำบลจวบ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเกษตรกรในตำบลจวบ ได้รับการคัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือด
0.00

 

2 เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงในตำบลจวบ มีความรู้เรื่องการใช้สารเคมีที่ถูกต้องและปลอดภัย
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อตรวจหาปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกร ตำบลจวบ (2) เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตรวจหาสารเคมีในเลือดกลุ่มเกษตรกรตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง ปีงบประมาณ  2568

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการตรวจหาสารเคมีในเลือดกลุ่มเกษตรกร ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 68-L84225-01-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวมุมีนะห์ ไชยจันทร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด