ส่งเสริมโภชนาการหญิงวัยเจริญพันธ์และหญิงตั้งครรภ์ ป้องกันภาวะซีดตำบลตุยง ปี 68
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ส่งเสริมโภชนาการหญิงวัยเจริญพันธ์และหญิงตั้งครรภ์ ป้องกันภาวะซีดตำบลตุยง ปี 68 ”
ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสุทิศา สุวรรณมณี
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ ส่งเสริมโภชนาการหญิงวัยเจริญพันธ์และหญิงตั้งครรภ์ ป้องกันภาวะซีดตำบลตุยง ปี 68
ที่อยู่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3065-1-03 เลขที่ข้อตกลง 06/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"ส่งเสริมโภชนาการหญิงวัยเจริญพันธ์และหญิงตั้งครรภ์ ป้องกันภาวะซีดตำบลตุยง ปี 68 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมโภชนาการหญิงวัยเจริญพันธ์และหญิงตั้งครรภ์ ป้องกันภาวะซีดตำบลตุยง ปี 68
บทคัดย่อ
โครงการ " ส่งเสริมโภชนาการหญิงวัยเจริญพันธ์และหญิงตั้งครรภ์ ป้องกันภาวะซีดตำบลตุยง ปี 68 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3065-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หญิงวัยเจริญพันธุ์เป็นประชากรกลุ่มที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะโลหิตจาง เนื่องจากมีการสูญเสียธาตุเหล็กไปกับประจำเดือน ประมาณ 12.5-25 มิลลิกรัมต่อเดือน นอกจากนี้พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้อง ทำให้ร่างการได้รับธาตุเหล็กไม่เพียงพอเมื่อหญิงวัยเจริญพันธ์ตั้งครรภ์ทำให้เกิดปัญหาปัญหาโลหิตจางตามมา ภาวะโลหิตจางในสตรีตั้งครรภ์ หมายถึง ภาวะที่ สตรีตั้งครรภ์มีระดับความเข้มข้นของฮีโมโกลบิน (hemoglobin) ต่ำกว่า 11 กรัมต่อเดซิลิตร หรือมีระดับ ฮีมาโตคริต (hematocrit) ต่ำกว่าร้อยละ 33 (World Health Organization [WHO], 2001) โดยสาเหตุที่พบ บ่อยในสตรีตั้งครรภ์ ได้แก่ การขาดสารอาหาร มีการ ทำลายเม็ดเลือดแดงมากกว่าปกติ มีการสูญเสียเลือด และมีการติดเชื้อ (Goonewardene, Shehata, & Hamad, 2012) สำหรับประเทศไทยกำหนด ให้มีอัตราของสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางไม่เกินร้อยละ 10 เนื่องจากภาวะโลหิตจางส่งผลต่อสุขภาพสตรีตั้งครรภ์ ทารกในครรภ์ และทารกแรกเกิดภาวะโลหิตจางส่งผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของ สตรีตั้งครรภ์ คือ ทำให้เหนื่อยง่าย หน้ามืด เวียนศีรษะ เป็นลม ท้องอืด อาหารไม่ย่อย ความทนต่อการสูญเสีย เลือดในระหว่างคลอดลดลง รวมทั้งอาจเกิดภาวะ แทรกซ้อนหลังคลอดได้ง่าย เช่น เกิดการติดเชื้อ เป็น นอกจากนี้ยังทำให้การหายของแผลผ่าตัดหรือแผลฝีเย็บ ช้า และในรายที่มีความเข้มข้นของฮีโมโกลบินต่ำกว่า 6 กรัมต่อเดซิลิตร อาจทำให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลวได้ สำหรับ ผลกระทบของภาวะโลหิตจางในสตรีตั้งครรภ์ที่มีต่อทารก ในครรภ์และทารกแรกเกิด คือมีผลทำให้ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ ทารกคลอดก่อนกำหนด และทารกแรก เกิดน้ำหนักตัวน้อย อีกทั้งความเชื่อ วัฒนธรรม ของสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่ยากต่อการส่งเสริมการคุมกำเนิด ทำให้อัตราการตั้งครรภ์สูง ส่งผลให้อัตราการตั้งครรภ์เสี่ยงในพื้นที่สูงเช่นกัน สภาพปัญหา เมื่อทบทวนผลการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กตำบลตุยงตั้งแต่ ปี 2563 - 2567 พบว่าอัตราหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดในการตรวจเลือดครั้งที่ ๑ ดังนี้ 25.33, 21.58, 22.66, 24.14 และ 16.47 ตามลำดับ จากการวิเคราะห์ ปี 2567 พบว่า เกิดจากสาเหตุ
1. ฝากครรภ์ช้าหลัง 12 สัปดาห์
2. ผล OF หรือ DCIP : Positive เป็นพาหนะ E.trait
3. พบพยาธิ T.trichiura
4. ไม่ทราบสาเหตุ และพฤติกรรมการรับประทานอาหารตามบริบทที่ไม่ถูกต้อง
จะเห็นได้ว่าหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดในการตรวจเลือดครั้งที่1มีแนวโน้มลดลง แต่ยังสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด ฝ่ายการบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวมจึงเห็นความสำคัญจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมา
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อคัดกรองและให้การรักษาภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธ์ ที่อยู่กินกับสามี
- เพื่อค้นหาสาเหตุของภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ และสาเหตุที่ทำให้การรักษาไม่ประสบผลสำเร็จ
- เพื่อให้ความรู้ด้านโภชการให้เหมาะกับแต่ละบุคคล กระตุ้นให้รับประทานยาบำรุงเลือดสม่ำเสมอโดยมีครอบครัวและอสม.ของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดสนับสนุนและมีส่วนร่วมในการดูแล
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- พัฒนาเครือข่ายงานอนามัยแม่และเด็ก
- คัดกรองภาวะซีด
- ส่งเสริมความรู้ด้านโภชนาการและการรับประทานยา
- ติดตามหญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด
- สรุป ประเมินผลโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
100
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- หญิงวัยเจริญพันธ์อายุ 15-40 ปี ที่อยู่กินกับสามีได้รับการคัดกรองและหากมีภาวะซีดได้รับการรักษา ไม่น้อยกว่า ๘๐
- อัตราหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดในการตรวจเลือดครั้งที่ ๑ และครั้งที่ 3 ไม่เกินร้อยละ ๑๐ หรือลดลง จากปี 2567ร้อยละ1
- หญิงตั้งครรภ์และผู้ดูแลในครอบครัว รวมทั้งอสม.มีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันไม่ให้เกิดภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อคัดกรองและให้การรักษาภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธ์ ที่อยู่กินกับสามี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของหญิงวัยเจริญพันธ์ที่อยูกินกับสามีได้รับการคัดกรองภาวะซีด
100.00
90.00
2
เพื่อค้นหาสาเหตุของภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ และสาเหตุที่ทำให้การรักษาไม่ประสบผลสำเร็จ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด ได้รับการค้นหาสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะซีด
22.00
22.00
3
เพื่อให้ความรู้ด้านโภชการให้เหมาะกับแต่ละบุคคล กระตุ้นให้รับประทานยาบำรุงเลือดสม่ำเสมอโดยมีครอบครัวและอสม.ของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดสนับสนุนและมีส่วนร่วมในการดูแล
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของหญิงตั้งครรภ์ได้รับความรู้ด้านโภชนาการและกินยาบำรุงเลือดการค้นหาสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะซีดอย่างสม่ำเสมอ
22.00
22.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
0
กลุ่มผู้สูงอายุ
0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
100
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคัดกรองและให้การรักษาภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธ์ ที่อยู่กินกับสามี (2) เพื่อค้นหาสาเหตุของภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ และสาเหตุที่ทำให้การรักษาไม่ประสบผลสำเร็จ (3) เพื่อให้ความรู้ด้านโภชการให้เหมาะกับแต่ละบุคคล กระตุ้นให้รับประทานยาบำรุงเลือดสม่ำเสมอโดยมีครอบครัวและอสม.ของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดสนับสนุนและมีส่วนร่วมในการดูแล
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) พัฒนาเครือข่ายงานอนามัยแม่และเด็ก (2) คัดกรองภาวะซีด (3) ส่งเสริมความรู้ด้านโภชนาการและการรับประทานยา (4) ติดตามหญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด (5) สรุป ประเมินผลโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่งเสริมโภชนาการหญิงวัยเจริญพันธ์และหญิงตั้งครรภ์ ป้องกันภาวะซีดตำบลตุยง ปี 68 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3065-1-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสุทิศา สุวรรณมณี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ส่งเสริมโภชนาการหญิงวัยเจริญพันธ์และหญิงตั้งครรภ์ ป้องกันภาวะซีดตำบลตุยง ปี 68 ”
ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสุทิศา สุวรรณมณี
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3065-1-03 เลขที่ข้อตกลง 06/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"ส่งเสริมโภชนาการหญิงวัยเจริญพันธ์และหญิงตั้งครรภ์ ป้องกันภาวะซีดตำบลตุยง ปี 68 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมโภชนาการหญิงวัยเจริญพันธ์และหญิงตั้งครรภ์ ป้องกันภาวะซีดตำบลตุยง ปี 68
บทคัดย่อ
โครงการ " ส่งเสริมโภชนาการหญิงวัยเจริญพันธ์และหญิงตั้งครรภ์ ป้องกันภาวะซีดตำบลตุยง ปี 68 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3065-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หญิงวัยเจริญพันธุ์เป็นประชากรกลุ่มที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะโลหิตจาง เนื่องจากมีการสูญเสียธาตุเหล็กไปกับประจำเดือน ประมาณ 12.5-25 มิลลิกรัมต่อเดือน นอกจากนี้พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้อง ทำให้ร่างการได้รับธาตุเหล็กไม่เพียงพอเมื่อหญิงวัยเจริญพันธ์ตั้งครรภ์ทำให้เกิดปัญหาปัญหาโลหิตจางตามมา ภาวะโลหิตจางในสตรีตั้งครรภ์ หมายถึง ภาวะที่ สตรีตั้งครรภ์มีระดับความเข้มข้นของฮีโมโกลบิน (hemoglobin) ต่ำกว่า 11 กรัมต่อเดซิลิตร หรือมีระดับ ฮีมาโตคริต (hematocrit) ต่ำกว่าร้อยละ 33 (World Health Organization [WHO], 2001) โดยสาเหตุที่พบ บ่อยในสตรีตั้งครรภ์ ได้แก่ การขาดสารอาหาร มีการ ทำลายเม็ดเลือดแดงมากกว่าปกติ มีการสูญเสียเลือด และมีการติดเชื้อ (Goonewardene, Shehata, & Hamad, 2012) สำหรับประเทศไทยกำหนด ให้มีอัตราของสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางไม่เกินร้อยละ 10 เนื่องจากภาวะโลหิตจางส่งผลต่อสุขภาพสตรีตั้งครรภ์ ทารกในครรภ์ และทารกแรกเกิดภาวะโลหิตจางส่งผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของ สตรีตั้งครรภ์ คือ ทำให้เหนื่อยง่าย หน้ามืด เวียนศีรษะ เป็นลม ท้องอืด อาหารไม่ย่อย ความทนต่อการสูญเสีย เลือดในระหว่างคลอดลดลง รวมทั้งอาจเกิดภาวะ แทรกซ้อนหลังคลอดได้ง่าย เช่น เกิดการติดเชื้อ เป็น นอกจากนี้ยังทำให้การหายของแผลผ่าตัดหรือแผลฝีเย็บ ช้า และในรายที่มีความเข้มข้นของฮีโมโกลบินต่ำกว่า 6 กรัมต่อเดซิลิตร อาจทำให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลวได้ สำหรับ ผลกระทบของภาวะโลหิตจางในสตรีตั้งครรภ์ที่มีต่อทารก ในครรภ์และทารกแรกเกิด คือมีผลทำให้ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ ทารกคลอดก่อนกำหนด และทารกแรก เกิดน้ำหนักตัวน้อย อีกทั้งความเชื่อ วัฒนธรรม ของสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่ยากต่อการส่งเสริมการคุมกำเนิด ทำให้อัตราการตั้งครรภ์สูง ส่งผลให้อัตราการตั้งครรภ์เสี่ยงในพื้นที่สูงเช่นกัน สภาพปัญหา เมื่อทบทวนผลการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กตำบลตุยงตั้งแต่ ปี 2563 - 2567 พบว่าอัตราหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดในการตรวจเลือดครั้งที่ ๑ ดังนี้ 25.33, 21.58, 22.66, 24.14 และ 16.47 ตามลำดับ จากการวิเคราะห์ ปี 2567 พบว่า เกิดจากสาเหตุ
1. ฝากครรภ์ช้าหลัง 12 สัปดาห์
2. ผล OF หรือ DCIP : Positive เป็นพาหนะ E.trait
3. พบพยาธิ T.trichiura
4. ไม่ทราบสาเหตุ และพฤติกรรมการรับประทานอาหารตามบริบทที่ไม่ถูกต้อง
จะเห็นได้ว่าหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดในการตรวจเลือดครั้งที่1มีแนวโน้มลดลง แต่ยังสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด ฝ่ายการบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวมจึงเห็นความสำคัญจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมา
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อคัดกรองและให้การรักษาภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธ์ ที่อยู่กินกับสามี
- เพื่อค้นหาสาเหตุของภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ และสาเหตุที่ทำให้การรักษาไม่ประสบผลสำเร็จ
- เพื่อให้ความรู้ด้านโภชการให้เหมาะกับแต่ละบุคคล กระตุ้นให้รับประทานยาบำรุงเลือดสม่ำเสมอโดยมีครอบครัวและอสม.ของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดสนับสนุนและมีส่วนร่วมในการดูแล
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- พัฒนาเครือข่ายงานอนามัยแม่และเด็ก
- คัดกรองภาวะซีด
- ส่งเสริมความรู้ด้านโภชนาการและการรับประทานยา
- ติดตามหญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด
- สรุป ประเมินผลโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 100 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- หญิงวัยเจริญพันธ์อายุ 15-40 ปี ที่อยู่กินกับสามีได้รับการคัดกรองและหากมีภาวะซีดได้รับการรักษา ไม่น้อยกว่า ๘๐
- อัตราหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดในการตรวจเลือดครั้งที่ ๑ และครั้งที่ 3 ไม่เกินร้อยละ ๑๐ หรือลดลง จากปี 2567ร้อยละ1
- หญิงตั้งครรภ์และผู้ดูแลในครอบครัว รวมทั้งอสม.มีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันไม่ให้เกิดภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อคัดกรองและให้การรักษาภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธ์ ที่อยู่กินกับสามี ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของหญิงวัยเจริญพันธ์ที่อยูกินกับสามีได้รับการคัดกรองภาวะซีด |
100.00 | 90.00 |
|
|
2 | เพื่อค้นหาสาเหตุของภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ และสาเหตุที่ทำให้การรักษาไม่ประสบผลสำเร็จ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด ได้รับการค้นหาสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะซีด |
22.00 | 22.00 |
|
|
3 | เพื่อให้ความรู้ด้านโภชการให้เหมาะกับแต่ละบุคคล กระตุ้นให้รับประทานยาบำรุงเลือดสม่ำเสมอโดยมีครอบครัวและอสม.ของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดสนับสนุนและมีส่วนร่วมในการดูแล ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของหญิงตั้งครรภ์ได้รับความรู้ด้านโภชนาการและกินยาบำรุงเลือดการค้นหาสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะซีดอย่างสม่ำเสมอ |
22.00 | 22.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 0 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 100 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคัดกรองและให้การรักษาภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธ์ ที่อยู่กินกับสามี (2) เพื่อค้นหาสาเหตุของภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ และสาเหตุที่ทำให้การรักษาไม่ประสบผลสำเร็จ (3) เพื่อให้ความรู้ด้านโภชการให้เหมาะกับแต่ละบุคคล กระตุ้นให้รับประทานยาบำรุงเลือดสม่ำเสมอโดยมีครอบครัวและอสม.ของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดสนับสนุนและมีส่วนร่วมในการดูแล
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) พัฒนาเครือข่ายงานอนามัยแม่และเด็ก (2) คัดกรองภาวะซีด (3) ส่งเสริมความรู้ด้านโภชนาการและการรับประทานยา (4) ติดตามหญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด (5) สรุป ประเมินผลโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่งเสริมโภชนาการหญิงวัยเจริญพันธ์และหญิงตั้งครรภ์ ป้องกันภาวะซีดตำบลตุยง ปี 68 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3065-1-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสุทิศา สุวรรณมณี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......