โครงการ คัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ตำบลจวบ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ คัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ตำบลจวบ ”
ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรีนฟาฎีละฮ์ นิกาเร็ง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการ คัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ตำบลจวบ
ที่อยู่ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L8422-01-08 เลขที่ข้อตกลง 68-L8422-01-08
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ คัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ตำบลจวบ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ คัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ตำบลจวบ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ คัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ตำบลจวบ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L8422-01-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,720.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กเป็นทรัพยากรสำคัญที่จะเติบโตเป็นกำลังสำคัญของชาติในอนาคต การจะทำให้เด็กเติบโตอย่างมีคุณภาพมีความสมบูรณ์ทางด้านร่างกาย มีความฉลาดทางด้านสติปัญญาและอารมณ์ ไม่เจ็บป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน และสามารถปรับตัวอยู่ในสังคมแห่งการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันได้อย่างมีคุณภาพนั้น จะต้องได้รับการเกื้อหนุน ส่งเสริม จากหลายๆ ปัจจัย ไม่ว่าจะเป็นปัจจัยสภาพแวดล้อม ระบบบริการ และปัจจัยที่สำคัญอย่างยิ่งคือตัวผู้เลี้ยงดูเด็กเองจากการสำรวจการคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัยในจังหวัดนราธิวาส ปี 67 ที่ผ่านมาพบว่าเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 69.41 พัฒนาการสงสัยล่าช้า ร้อยละ 19.68 และจากการดำเนินงานตรวจคัดกรองพัฒนาการของเด็กของโรงพยาบาลเจาะไอร้องในปี 2567 พบว่าเด็กมีพัฒนาการสมวัยร้อยละ 39.73 สงสัยล่าช้าร้อยละ 8.33 ซึ่งผู้ปกครอง สามารถมีบทบาทช่วยแก้ไขปัญหาพัฒนาการเด็กล่าช้าโดยสนับสนุนส่งเสริมให้เด็กอายุ 0-5 ปีในความดูแลได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการต่อไป พัฒนาการที่สมวัยเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กไทย การที่เด็กจะมีพัฒนาการสมวัยในทุกๆด้าน ต้องอาศัยความร่วมมือของหลายๆฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เริ่มตั้งแต่แม่ หรือครอบครัวที่จะต้องให้การดูแลที่ถูกต้องตั้งแต่อยู่ในครรภ์ โดยการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ในปริมาณและสัดส่วนที่เพียงพอ การออกกำลังกาย การตรวจครรภ์ตามนัด ภายหลังคลอดแล้วมีการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การให้กินอาหารเสริมตามวัย ในส่วนของสถานบริการ จัดให้มีการส่งเสริมสุขภาพและให้ความช่วยเหลือแม่และครอบครัว ในรายที่ต้องการความช่วยเหลือซึ่งครอบครัวและชุมชนควรมีการจัดเตรียมความพร้อม และมีการส่งเสริมพัฒนาการที่เหมาะสมแก่เด็ก เป็นสถานที่สำหรับเตรียมความพร้อมทั้งด้านการเคลื่อนไหว ด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก ด้านการเข้าใจภาษา และด้านการช่วยเหลือตนเองและสังคมให้แก่เด็ก ซึ่งเจ้าหน้าที่เพียงฝ่ายเดียวไม่สามารถแก้ปัญหาให้ลดน้อยลงหรือหมดไปได้ สิ่งสำคัญจะต้องมีการให้ความรู้แก่พ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูเด็ก และส่งเสริมให้ครอบครัวและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริมป้องกันโรค เมื่อครอบครัวและชุมชนมีการเลี้ยงดูเด็กที่ดีแล้ว จะเป็นการวางฐานในการพัฒนาคนให้เจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพต่อไปในอนาคต
จากสภาพปัญหาดังกล่าว ทางโรงพยาบาลเจาะไอร้อง ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยอายุ 0-5 ปีขึ้นมา
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย
- เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครองให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการประเมินส่งเสริมพัฒนาการ เด็ก 0-5 ปี
- เพื่อให้เด็ก 0-5 ปีที่พัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่เหมาะสมและได้รับการรักษาที่ถูกต้อง ในรายที่มีความผิดปกติ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่ผู้ดูแลเด็กปฐมวัย ในการประเมินและคัดกรองพัฒนาการ
- ประเมินและคัดกรองพัฒนาการ ตามคู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (dspm) ตามช่วงอายุ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการและการกระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย
ตัวชี้วัด : เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการตรวจประเมินและส่งเสริมพัฒนาการที่ถูกต้องตามวัยร้อยละ 85
0.00
2
เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครองให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการประเมินส่งเสริมพัฒนาการ เด็ก 0-5 ปี
ตัวชี้วัด : เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกายสติปัญญาอารมณ์จิตใจและสังคมร้อยละ 90
0.00
3
เพื่อให้เด็ก 0-5 ปีที่พัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่เหมาะสมและได้รับการรักษาที่ถูกต้อง ในรายที่มีความผิดปกติ
ตัวชี้วัด : 1.เพื่อให้เด็ก 0-5 ปีที่พัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่เหมาะสมและได้รับการรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติร้อยละ 100
2.ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการประเมินส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปีร้อยละ 80
0.00
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
0
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครองให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการประเมินส่งเสริมพัฒนาการ เด็ก 0-5 ปี (3) เพื่อให้เด็ก 0-5 ปีที่พัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่เหมาะสมและได้รับการรักษาที่ถูกต้อง ในรายที่มีความผิดปกติ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่ผู้ดูแลเด็กปฐมวัย ในการประเมินและคัดกรองพัฒนาการ (2) ประเมินและคัดกรองพัฒนาการ ตามคู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (dspm) ตามช่วงอายุ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ คัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ตำบลจวบ จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L8422-01-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวนูรีนฟาฎีละฮ์ นิกาเร็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ คัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ตำบลจวบ ”
ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรีนฟาฎีละฮ์ นิกาเร็ง
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L8422-01-08 เลขที่ข้อตกลง 68-L8422-01-08
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ คัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ตำบลจวบ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ คัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ตำบลจวบ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ คัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ตำบลจวบ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L8422-01-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,720.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กเป็นทรัพยากรสำคัญที่จะเติบโตเป็นกำลังสำคัญของชาติในอนาคต การจะทำให้เด็กเติบโตอย่างมีคุณภาพมีความสมบูรณ์ทางด้านร่างกาย มีความฉลาดทางด้านสติปัญญาและอารมณ์ ไม่เจ็บป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน และสามารถปรับตัวอยู่ในสังคมแห่งการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันได้อย่างมีคุณภาพนั้น จะต้องได้รับการเกื้อหนุน ส่งเสริม จากหลายๆ ปัจจัย ไม่ว่าจะเป็นปัจจัยสภาพแวดล้อม ระบบบริการ และปัจจัยที่สำคัญอย่างยิ่งคือตัวผู้เลี้ยงดูเด็กเองจากการสำรวจการคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัยในจังหวัดนราธิวาส ปี 67 ที่ผ่านมาพบว่าเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 69.41 พัฒนาการสงสัยล่าช้า ร้อยละ 19.68 และจากการดำเนินงานตรวจคัดกรองพัฒนาการของเด็กของโรงพยาบาลเจาะไอร้องในปี 2567 พบว่าเด็กมีพัฒนาการสมวัยร้อยละ 39.73 สงสัยล่าช้าร้อยละ 8.33 ซึ่งผู้ปกครอง สามารถมีบทบาทช่วยแก้ไขปัญหาพัฒนาการเด็กล่าช้าโดยสนับสนุนส่งเสริมให้เด็กอายุ 0-5 ปีในความดูแลได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการต่อไป พัฒนาการที่สมวัยเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กไทย การที่เด็กจะมีพัฒนาการสมวัยในทุกๆด้าน ต้องอาศัยความร่วมมือของหลายๆฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เริ่มตั้งแต่แม่ หรือครอบครัวที่จะต้องให้การดูแลที่ถูกต้องตั้งแต่อยู่ในครรภ์ โดยการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ในปริมาณและสัดส่วนที่เพียงพอ การออกกำลังกาย การตรวจครรภ์ตามนัด ภายหลังคลอดแล้วมีการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การให้กินอาหารเสริมตามวัย ในส่วนของสถานบริการ จัดให้มีการส่งเสริมสุขภาพและให้ความช่วยเหลือแม่และครอบครัว ในรายที่ต้องการความช่วยเหลือซึ่งครอบครัวและชุมชนควรมีการจัดเตรียมความพร้อม และมีการส่งเสริมพัฒนาการที่เหมาะสมแก่เด็ก เป็นสถานที่สำหรับเตรียมความพร้อมทั้งด้านการเคลื่อนไหว ด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก ด้านการเข้าใจภาษา และด้านการช่วยเหลือตนเองและสังคมให้แก่เด็ก ซึ่งเจ้าหน้าที่เพียงฝ่ายเดียวไม่สามารถแก้ปัญหาให้ลดน้อยลงหรือหมดไปได้ สิ่งสำคัญจะต้องมีการให้ความรู้แก่พ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูเด็ก และส่งเสริมให้ครอบครัวและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริมป้องกันโรค เมื่อครอบครัวและชุมชนมีการเลี้ยงดูเด็กที่ดีแล้ว จะเป็นการวางฐานในการพัฒนาคนให้เจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพต่อไปในอนาคต
จากสภาพปัญหาดังกล่าว ทางโรงพยาบาลเจาะไอร้อง ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยอายุ 0-5 ปีขึ้นมา
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย
- เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครองให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการประเมินส่งเสริมพัฒนาการ เด็ก 0-5 ปี
- เพื่อให้เด็ก 0-5 ปีที่พัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่เหมาะสมและได้รับการรักษาที่ถูกต้อง ในรายที่มีความผิดปกติ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่ผู้ดูแลเด็กปฐมวัย ในการประเมินและคัดกรองพัฒนาการ
- ประเมินและคัดกรองพัฒนาการ ตามคู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (dspm) ตามช่วงอายุ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 40 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการและการกระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ตัวชี้วัด : เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการตรวจประเมินและส่งเสริมพัฒนาการที่ถูกต้องตามวัยร้อยละ 85 |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครองให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการประเมินส่งเสริมพัฒนาการ เด็ก 0-5 ปี ตัวชี้วัด : เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกายสติปัญญาอารมณ์จิตใจและสังคมร้อยละ 90 |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อให้เด็ก 0-5 ปีที่พัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่เหมาะสมและได้รับการรักษาที่ถูกต้อง ในรายที่มีความผิดปกติ ตัวชี้วัด : 1.เพื่อให้เด็ก 0-5 ปีที่พัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่เหมาะสมและได้รับการรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติร้อยละ 100 2.ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการประเมินส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปีร้อยละ 80 |
0.00 | 0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 40 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 0 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครองให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการประเมินส่งเสริมพัฒนาการ เด็ก 0-5 ปี (3) เพื่อให้เด็ก 0-5 ปีที่พัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่เหมาะสมและได้รับการรักษาที่ถูกต้อง ในรายที่มีความผิดปกติ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่ผู้ดูแลเด็กปฐมวัย ในการประเมินและคัดกรองพัฒนาการ (2) ประเมินและคัดกรองพัฒนาการ ตามคู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (dspm) ตามช่วงอายุ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ คัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ตำบลจวบ จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L8422-01-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวนูรีนฟาฎีละฮ์ นิกาเร็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......