โครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลและปลอดภัย (RDU) ในชุมชน ปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลและปลอดภัย (RDU) ในชุมชน ปี 2568 ”
ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายอะหมัดลุตฟี กามา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลและปลอดภัย (RDU) ในชุมชน ปี 2568
ที่อยู่ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2568-L4135-01-10 เลขที่ข้อตกลง 32/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลและปลอดภัย (RDU) ในชุมชน ปี 2568 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลและปลอดภัย (RDU) ในชุมชน ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลและปลอดภัย (RDU) ในชุมชน ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2568-L4135-01-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล
โครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล (Rational drug use; RDU) เป็นโครงการที่จัดตั้งขึ้นโดย คณะอนุกรรมการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการใช้ยาของแพทย์ บุคลากรทางการแพทย์ และประชาชน ให้เป็นไปอย่างสมเหตุสมผล ถูกต้อง คุ้มค่า บุคลากรสาธารณสุขและประชาชน เกิดความตระหนักถึงปัญหาการใช้ยา และสร้างระบบในการบริหารจัดการด้านยา ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน เนื่องด้วยการใช้ยาอย่างไม่สมเหตุสมผลและการใช้ยาปฏิชีวนะเกินความจำเป็นอย่างไม่ถูกต้องตามข้อบ่งใช้นั้น นอกจากจะก่อให้เกิดปัญหาการใช้ยาที่สูญเปล่าโดยไม่เกิดประโยชน์แล้ว ยังเป็นปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งที่ก่อให้เกิดปัญหาเชื้อดื้อยาซึ่งเป็นปัญหาการสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศและของโลก ในประเทศไทยพบผู้ป่วยที่ติดเชื้อดื้อยาปฏิชีวนะปีละมากกว่า 100,000 ราย โดยมีผู้ป่วยเสียชีวิตจากการติดเชื้อดื้อยาปฏิชีวนะ ปีละมากกว่า 30,000 ราย ส่งผลให้เกิดการสูญเสียทรัพยากรจากการติดเชื้อดื้อยาปฏิชีวนะตามมามากมาย รวมถึงการใช้ยาชุดบรรเทาปวดซึ่งอาจประกอบไปด้วยยากลุ่ม NSAIDs, steroids ซึ่งอาจส่งผลต่อการรักษาผู้ป่วย ในด้านประสิทธิผล ความคุ้มค่า ความปลอดภัย และก่อให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาได้อีกด้วย
นอกจากนี้ยังพบอีกว่า ประชาชนมีความรู้จำกัด หรือ มีความรู้ไม่ถูกต้องในการเลือกซื้อและใช้ยา ไม่เห็นด้านที่เป็นอันตรายต่อการใช้ยา มีกระบวนการตัดสินใจที่ซับซ้อนโดยได้รับอิทธิพลจากแหล่งข้อมูลที่เสี่ยงต่อการส่งเสริมให้มีการใช้ยาที่ไม่เหมาะสม เช่น ญาติพี่น้อง เพื่อนบ้าน และข้อมูลจากการโฆษณา มีการใช้ยาตามวัฒนธรรมความเชื่อเดิมที่มักก่อให้เกิดการใช้ยาที่ไม่เหมาะสม เช่น เชื่อมโยงความแรงของยากับยี่ห้อ รูปแบบยา และแหล่งที่มาของยา มีการพลิกแพลงวิธีใช้ยาตามตรรกะที่คิดขึ้นเอง หรือใช้ยาตามประสบการณ์ และ คำบอกเล่า พฤติกรรมการใช้ยาของประชาชน คือภาพสะท้อนของพฤติกรรมของระบบความไม่สมเหตุสมผลที่ปรากฏในพฤติกรรมของประชาชนจึงเป็นภาพสะท้อนของความไม่สมเหตุสมผลของระบบยาทั้งระบบ ส่วนหนึ่งอาจเป็นเพราะ 1.ระบบการแพทย์และสาธารณสุขของประเทศ ยังเน้นการใช้ยาเป็นทางออกหลักในการแก้ปัญหา ยังขาดการส่งเสริมการบำบัดรักษาความเจ็บป่วยที่ไม่ต้องพึ่งยา หรือแม้กระทั่งขาดการเน้นพิษภัยของยาให้เป็นที่ตระหนักในวงการวิชาชีพทางการแพทย์และสาธารณสุข 2.ระบบยาของประเทศไทยยังมีความฟุ่มเฟือย มีการใช้ยาไม่จำเป็น แม้กระทั่งในระบบโรงพยาบาลของรัฐบาล ระบบยาและการใช้ยาที่เป็นอยู่มีผลประโยชน์ทางธุรกิจเป็นแรงขับเคลื่อนหลักของระบบ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบุดี ร่วมกับงานคุ้มครองผู้บริโภคและงานบริการเภสัชกรรมปฐมภูมิมีหน้าที่รับผิดชอบดูแลร่วมกับประชาชนในการดูแลสุขภาพของตนเองอย่างต่อเนื่อง ได้เล็งเห็นปัญหาของการขาดการส่งต่อความรู้เดิมและความรู้ใหม่ๆ เรื่องโรคและยาแก่ประชาชน จึงได้จัดทำโครงการโดยการจัดกิจกรรมเพื่อแก้ปัญหาต่างๆ ที่สอดคล้องกับบริบทของประชาชน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เกิดความปลอดภัย และ ความต่อเนื่องของการให้บริการประชาชนมีสุขภาพดี และมีดุลยภาพที่พอดีระหว่างการพึ่งตนเองกับพึ่งบริการ มุ่งเน้นการส่งเสริมความร่วมมือของผู้ป่วย ครอบครัวและ ชุมชน ในการวางแผนการใช้ยาที่เหมาะสม และ สมเหตุสมผลเพื่อให้ได้ผลประโยชน์จากการใช้ยาอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อสร้างความเข้าใจและให้ข้อมูลที่ถูกต้องเรื่องหลักการใช้ยาอย่างถูกวิธี ตัวชี้วัดความสำเร็จ
- เพื่อสร้างความตระหนักเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคยาที่ถูกต้อง
- เสริมสร้างความเข้มแข็งและคุณภาพในด้านยาของประชาชน
- ประชาชนเข้าใจถึงการดูแลตนเองเมื่อเกิดปัญหาจากการใช้ยารวมถึงการป้องกันปัญหาจากการใช้ยา
- เข้าใจถึงหลักการเลือกใช้สมุนไพรให้ปลอดภัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การอบรมให้ความรู้เรื่อง (ตามกำหนดการอบรม) แก่ กลุ่มวัยทำงาน จำนวน 30 คน, และกลุ่มเจ้าของกิจการร้านค้าในชุมชน จำนวน 10 ร้าน รวม 40 คน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
40
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจและให้ข้อมูลที่ถูกต้องเรื่องหลักการใช้ยาอย่างถูกวิธี
- กลุ่มเป้าหมาย มีการตระหนักเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคยาที่ถูกต้อง
- กลุ่มเป้าหมาย มีความเข้มแข็งและคุณภาพในด้านยาของประชาชน
- กลุ่มเป้าหมาย มีความเข้าใจถึงการดูแลตนเองเมื่อเกิดปัญหาจากการใช้ยารวมถึงการป้องกันปัญหาจากการใช้ยา
- กลุ่มเป้าหมาย มีความเข้าใจถึงหลักการเลือกใช้สมุนไพรให้ปลอดภัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อสร้างความเข้าใจและให้ข้อมูลที่ถูกต้องเรื่องหลักการใช้ยาอย่างถูกวิธี ตัวชี้วัดความสำเร็จ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90
0.00
2
เพื่อสร้างความตระหนักเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคยาที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90
0.00
3
เสริมสร้างความเข้มแข็งและคุณภาพในด้านยาของประชาชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90
0.00
4
ประชาชนเข้าใจถึงการดูแลตนเองเมื่อเกิดปัญหาจากการใช้ยารวมถึงการป้องกันปัญหาจากการใช้ยา
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90
0.00
5
เข้าใจถึงหลักการเลือกใช้สมุนไพรให้ปลอดภัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
40
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อสร้างความเข้าใจและให้ข้อมูลที่ถูกต้องเรื่องหลักการใช้ยาอย่างถูกวิธี ตัวชี้วัดความสำเร็จ (2) เพื่อสร้างความตระหนักเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคยาที่ถูกต้อง (3) เสริมสร้างความเข้มแข็งและคุณภาพในด้านยาของประชาชน (4) ประชาชนเข้าใจถึงการดูแลตนเองเมื่อเกิดปัญหาจากการใช้ยารวมถึงการป้องกันปัญหาจากการใช้ยา (5) เข้าใจถึงหลักการเลือกใช้สมุนไพรให้ปลอดภัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การอบรมให้ความรู้เรื่อง (ตามกำหนดการอบรม) แก่ กลุ่มวัยทำงาน จำนวน 30 คน, และกลุ่มเจ้าของกิจการร้านค้าในชุมชน จำนวน 10 ร้าน รวม 40 คน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลและปลอดภัย (RDU) ในชุมชน ปี 2568 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2568-L4135-01-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอะหมัดลุตฟี กามา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลและปลอดภัย (RDU) ในชุมชน ปี 2568 ”
ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายอะหมัดลุตฟี กามา
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2568-L4135-01-10 เลขที่ข้อตกลง 32/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลและปลอดภัย (RDU) ในชุมชน ปี 2568 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลและปลอดภัย (RDU) ในชุมชน ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลและปลอดภัย (RDU) ในชุมชน ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2568-L4135-01-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล
โครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล (Rational drug use; RDU) เป็นโครงการที่จัดตั้งขึ้นโดย คณะอนุกรรมการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการใช้ยาของแพทย์ บุคลากรทางการแพทย์ และประชาชน ให้เป็นไปอย่างสมเหตุสมผล ถูกต้อง คุ้มค่า บุคลากรสาธารณสุขและประชาชน เกิดความตระหนักถึงปัญหาการใช้ยา และสร้างระบบในการบริหารจัดการด้านยา ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน เนื่องด้วยการใช้ยาอย่างไม่สมเหตุสมผลและการใช้ยาปฏิชีวนะเกินความจำเป็นอย่างไม่ถูกต้องตามข้อบ่งใช้นั้น นอกจากจะก่อให้เกิดปัญหาการใช้ยาที่สูญเปล่าโดยไม่เกิดประโยชน์แล้ว ยังเป็นปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งที่ก่อให้เกิดปัญหาเชื้อดื้อยาซึ่งเป็นปัญหาการสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศและของโลก ในประเทศไทยพบผู้ป่วยที่ติดเชื้อดื้อยาปฏิชีวนะปีละมากกว่า 100,000 ราย โดยมีผู้ป่วยเสียชีวิตจากการติดเชื้อดื้อยาปฏิชีวนะ ปีละมากกว่า 30,000 ราย ส่งผลให้เกิดการสูญเสียทรัพยากรจากการติดเชื้อดื้อยาปฏิชีวนะตามมามากมาย รวมถึงการใช้ยาชุดบรรเทาปวดซึ่งอาจประกอบไปด้วยยากลุ่ม NSAIDs, steroids ซึ่งอาจส่งผลต่อการรักษาผู้ป่วย ในด้านประสิทธิผล ความคุ้มค่า ความปลอดภัย และก่อให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาได้อีกด้วย
นอกจากนี้ยังพบอีกว่า ประชาชนมีความรู้จำกัด หรือ มีความรู้ไม่ถูกต้องในการเลือกซื้อและใช้ยา ไม่เห็นด้านที่เป็นอันตรายต่อการใช้ยา มีกระบวนการตัดสินใจที่ซับซ้อนโดยได้รับอิทธิพลจากแหล่งข้อมูลที่เสี่ยงต่อการส่งเสริมให้มีการใช้ยาที่ไม่เหมาะสม เช่น ญาติพี่น้อง เพื่อนบ้าน และข้อมูลจากการโฆษณา มีการใช้ยาตามวัฒนธรรมความเชื่อเดิมที่มักก่อให้เกิดการใช้ยาที่ไม่เหมาะสม เช่น เชื่อมโยงความแรงของยากับยี่ห้อ รูปแบบยา และแหล่งที่มาของยา มีการพลิกแพลงวิธีใช้ยาตามตรรกะที่คิดขึ้นเอง หรือใช้ยาตามประสบการณ์ และ คำบอกเล่า พฤติกรรมการใช้ยาของประชาชน คือภาพสะท้อนของพฤติกรรมของระบบความไม่สมเหตุสมผลที่ปรากฏในพฤติกรรมของประชาชนจึงเป็นภาพสะท้อนของความไม่สมเหตุสมผลของระบบยาทั้งระบบ ส่วนหนึ่งอาจเป็นเพราะ 1.ระบบการแพทย์และสาธารณสุขของประเทศ ยังเน้นการใช้ยาเป็นทางออกหลักในการแก้ปัญหา ยังขาดการส่งเสริมการบำบัดรักษาความเจ็บป่วยที่ไม่ต้องพึ่งยา หรือแม้กระทั่งขาดการเน้นพิษภัยของยาให้เป็นที่ตระหนักในวงการวิชาชีพทางการแพทย์และสาธารณสุข 2.ระบบยาของประเทศไทยยังมีความฟุ่มเฟือย มีการใช้ยาไม่จำเป็น แม้กระทั่งในระบบโรงพยาบาลของรัฐบาล ระบบยาและการใช้ยาที่เป็นอยู่มีผลประโยชน์ทางธุรกิจเป็นแรงขับเคลื่อนหลักของระบบ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบุดี ร่วมกับงานคุ้มครองผู้บริโภคและงานบริการเภสัชกรรมปฐมภูมิมีหน้าที่รับผิดชอบดูแลร่วมกับประชาชนในการดูแลสุขภาพของตนเองอย่างต่อเนื่อง ได้เล็งเห็นปัญหาของการขาดการส่งต่อความรู้เดิมและความรู้ใหม่ๆ เรื่องโรคและยาแก่ประชาชน จึงได้จัดทำโครงการโดยการจัดกิจกรรมเพื่อแก้ปัญหาต่างๆ ที่สอดคล้องกับบริบทของประชาชน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เกิดความปลอดภัย และ ความต่อเนื่องของการให้บริการประชาชนมีสุขภาพดี และมีดุลยภาพที่พอดีระหว่างการพึ่งตนเองกับพึ่งบริการ มุ่งเน้นการส่งเสริมความร่วมมือของผู้ป่วย ครอบครัวและ ชุมชน ในการวางแผนการใช้ยาที่เหมาะสม และ สมเหตุสมผลเพื่อให้ได้ผลประโยชน์จากการใช้ยาอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อสร้างความเข้าใจและให้ข้อมูลที่ถูกต้องเรื่องหลักการใช้ยาอย่างถูกวิธี ตัวชี้วัดความสำเร็จ
- เพื่อสร้างความตระหนักเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคยาที่ถูกต้อง
- เสริมสร้างความเข้มแข็งและคุณภาพในด้านยาของประชาชน
- ประชาชนเข้าใจถึงการดูแลตนเองเมื่อเกิดปัญหาจากการใช้ยารวมถึงการป้องกันปัญหาจากการใช้ยา
- เข้าใจถึงหลักการเลือกใช้สมุนไพรให้ปลอดภัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การอบรมให้ความรู้เรื่อง (ตามกำหนดการอบรม) แก่ กลุ่มวัยทำงาน จำนวน 30 คน, และกลุ่มเจ้าของกิจการร้านค้าในชุมชน จำนวน 10 ร้าน รวม 40 คน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 40 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจและให้ข้อมูลที่ถูกต้องเรื่องหลักการใช้ยาอย่างถูกวิธี
- กลุ่มเป้าหมาย มีการตระหนักเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคยาที่ถูกต้อง
- กลุ่มเป้าหมาย มีความเข้มแข็งและคุณภาพในด้านยาของประชาชน
- กลุ่มเป้าหมาย มีความเข้าใจถึงการดูแลตนเองเมื่อเกิดปัญหาจากการใช้ยารวมถึงการป้องกันปัญหาจากการใช้ยา
- กลุ่มเป้าหมาย มีความเข้าใจถึงหลักการเลือกใช้สมุนไพรให้ปลอดภัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อสร้างความเข้าใจและให้ข้อมูลที่ถูกต้องเรื่องหลักการใช้ยาอย่างถูกวิธี ตัวชี้วัดความสำเร็จ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อสร้างความตระหนักเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคยาที่ถูกต้อง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 |
0.00 |
|
||
3 | เสริมสร้างความเข้มแข็งและคุณภาพในด้านยาของประชาชน ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 |
0.00 |
|
||
4 | ประชาชนเข้าใจถึงการดูแลตนเองเมื่อเกิดปัญหาจากการใช้ยารวมถึงการป้องกันปัญหาจากการใช้ยา ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 |
0.00 |
|
||
5 | เข้าใจถึงหลักการเลือกใช้สมุนไพรให้ปลอดภัย ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 40 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อสร้างความเข้าใจและให้ข้อมูลที่ถูกต้องเรื่องหลักการใช้ยาอย่างถูกวิธี ตัวชี้วัดความสำเร็จ (2) เพื่อสร้างความตระหนักเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคยาที่ถูกต้อง (3) เสริมสร้างความเข้มแข็งและคุณภาพในด้านยาของประชาชน (4) ประชาชนเข้าใจถึงการดูแลตนเองเมื่อเกิดปัญหาจากการใช้ยารวมถึงการป้องกันปัญหาจากการใช้ยา (5) เข้าใจถึงหลักการเลือกใช้สมุนไพรให้ปลอดภัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การอบรมให้ความรู้เรื่อง (ตามกำหนดการอบรม) แก่ กลุ่มวัยทำงาน จำนวน 30 คน, และกลุ่มเจ้าของกิจการร้านค้าในชุมชน จำนวน 10 ร้าน รวม 40 คน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลและปลอดภัย (RDU) ในชุมชน ปี 2568 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2568-L4135-01-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอะหมัดลุตฟี กามา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......