กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตและสุขภาพกาย ตามแนวคิดจิตวิทยาเชิงบวกแก่ผู้สูงวัยเชิงรุกในสถาบันปอเนาะตำบลเมาะมาวี ”
ตำบลเมาะมาวี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางฟาตอนะห์ ซีเดะ




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตและสุขภาพกาย ตามแนวคิดจิตวิทยาเชิงบวกแก่ผู้สูงวัยเชิงรุกในสถาบันปอเนาะตำบลเมาะมาวี

ที่อยู่ ตำบลเมาะมาวี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L3031-1-04 เลขที่ข้อตกลง 007

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 8 เมษายน 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตและสุขภาพกาย ตามแนวคิดจิตวิทยาเชิงบวกแก่ผู้สูงวัยเชิงรุกในสถาบันปอเนาะตำบลเมาะมาวี จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเมาะมาวี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เมาะมาวี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตและสุขภาพกาย ตามแนวคิดจิตวิทยาเชิงบวกแก่ผู้สูงวัยเชิงรุกในสถาบันปอเนาะตำบลเมาะมาวี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตและสุขภาพกาย ตามแนวคิดจิตวิทยาเชิงบวกแก่ผู้สูงวัยเชิงรุกในสถาบันปอเนาะตำบลเมาะมาวี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเมาะมาวี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3031-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 8 เมษายน 2568 - 31 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เมาะมาวี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากอัตราผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้นภายใต้สังคมในปัจจุบันท ทำให้ผู้สูงอายุเผชิญกับปัญหา ทางด้านสุขภาพจิตโดยเฉพาะภาวะซึมเศร้าก็มีอัตราที่เพิ่มสูงขึ้นเช่นกัน โดยจากสถิติพบว่าภายใน ปี พ.ศ 2563 ภาวะซึมเศร้าจะกลายเป็นปัญหาสาธารณสุขอันดับ 1ของโลกและจะเป็นสาเหตุของ การเสียชีวิตเป็นอับดับ 2 ด้วย และจากสถิติของประเทศสหรัฐอเมริกา พบผู้สูงอายุที่มีภาวะ 2 ซึมเศร้าจนนำไปสู่การฆ่าตัวตายถึงร้อยละ 16 ของประชากรสูงอายุทั้งหมด และส่วนของประเทศ ไทยจากสถิติภาวะสุขภาพจิตของผู้สูงอายุไทยในปี พ.ศ 2562 พบว่า คะแนนเฉลี่ยสุขภาพจิตของ ผู้สูงอายุอยู่ในระดับต่ำ (Foundation for Thai Elderly Research and Development Institute Annual Report, 2019) ในปี พ.ศ 2556 พบผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าถึงร้อยละ 33 และได้รับ วินิจฉัยเป็นโรคซึมเศร้าร้อยละ 6 จากนั้นในปี พ.ศ 2559 พบผู้สูงอายุเป็นโรคซึมเศร้าเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 23 ของประชากรสูงอายุทั้งหมด และอัตราการมีภาวะซึมเศร้าจะสูงมากขึ้นตามอายุที่มากขึ้นด้วย(สาวิตรี สิงหาด, 2559) จะเห็นได้จากสถิติในช่วง 5 ปีที่ผ่านมาจะพบได้ว่าผู้สูงอายุมีแนวโน้ม เป็นโรคซึมเศร้าเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งผลกระทบจากภาวะซึมเศร้านี้ไม่ได้ร้ายแรงน้อยไปกว่าปัญหา ทางด้านอื่นๆเลย อีกทั้งยังส่งผลกระทบไปที่ด้านอื่นๆด้วย เช่น ความสามารถในการประกอบ กิจกรรมการด าเนินชีวิตลดลง อยู่ในภาวะพึ่งพิงมากขึ้น มีความเสี่ยงต่อการเกิดทุพพลภาพ และมีความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย ดังนั้นหากมีการส่งเสริมทางด้านสุขภาพจิตให้มีการเตรียมตัวรับมือ วางแผนก่อนเข้าวัยผู้สูงอายุ หรือมีการให้การดูแลทางด้านสุขภาพจิตควบคู่ไปกับการประเมินภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ จะเป็นการดูแลสุขภาพกายและจิตใจแบบองค์รวม (Holistic Care) รวมถึงการสนับสนุนในด้านอื่นๆ จึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี ขึ้นในระยะยาวด้วย
ด้วยเหตุนี้ ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเมาะมาวี จึงเล็งเห็นปัญหาด้านสุขภาพจิต ที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต จึงต้องรีบค้นหาผู้สูงอายุในพื้นที่ โดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุที่ไม่ได้อยู่กับบุตรหลาน เป็นกลุ่มควรให้ความสำคัญเมื่อพบว่ามีกลุ่มผู้สูงอายุที่อาศัยในปอเนาะ หมู่ 4 ตำบลเมาะมาวี ซึ่งเป็นสถานที่มีการเรียนการสอนทางด้านหลักศาสนาอิสลามและทำกิจกรรมต่างๆในปอเนาะนี้ ซึ่งผู้สูงอายุบางรายอาศัยอยู่ในปอเนาะเป็นระยะเวลานานเป็นเดือน บางรายมากกว่านั้นทำให้การตรวจและประเมินด้านสุขภาพกายและจิตใจ จึงเป็นสิ่งที่ควรให้ความสำคัญ เพื่อให้กลุ่มผู้สูงอายุเหล่านี้ ได้รับการดูแลที่เหมาะสมและต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการค้นหาและคัดกรองสุขภาพจิต กายและช่องปาก
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุในพื้นที่ห่างไกลจากโรคทางจิตเวช และลดการเกิดภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
  3. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมเตรียมความพร้อม
  2. อบรมให้ความรู้
  3. กิจกรรมติดตามและประเมินผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้สูงอายุมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตและมีสุขภาพช่องปาดที่ดี เพื่อให้มีการดำเนินชีวิตที่ส่งผลต่อการมีคุณภาพชีวิตที่ต่อไปในอนาคต


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการค้นหาและคัดกรองสุขภาพจิต กายและช่องปาก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มผุู้สูงอายุได้ประเมินภาวะสุขภาพจิตและตรวจสุขภาพช่องปาก
60.00 80.00

 

2 เพื่อให้ผู้สูงอายุในพื้นที่ห่างไกลจากโรคทางจิตเวช และลดการเกิดภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการไม่มีภาวะป่วยด้วยโรคทางจิตและมีสุขภาพจิตที่ดี
40.00 50.00

 

3 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 20 ของผู้สูงอายุลดการเกิดโรคสมองเสื่อม
15.00 20.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการค้นหาและคัดกรองสุขภาพจิต กายและช่องปาก (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุในพื้นที่ห่างไกลจากโรคทางจิตเวช  และลดการเกิดภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมเตรียมความพร้อม (2) อบรมให้ความรู้ (3) กิจกรรมติดตามและประเมินผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตและสุขภาพกาย ตามแนวคิดจิตวิทยาเชิงบวกแก่ผู้สูงวัยเชิงรุกในสถาบันปอเนาะตำบลเมาะมาวี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L3031-1-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางฟาตอนะห์ ซีเดะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด