โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อในชุมชน ปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อในชุมชน ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอัมพร ศิริวัฒน์ ผอ.กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อในชุมชน ปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68 – L7889 -01-01 เลขที่ข้อตกลง 01/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อในชุมชน ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อในชุมชน ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อในชุมชน ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68 – L7889 -01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 182,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 13 พ.ศ. 2552 กำหนดให้เทศบาลตำบลมีหน้าที่ป้องกันและระงับโรคติดต่อ ซึ่งโรคติดต่อหมายถึง โรคที่สามารถถ่ายทอด หรือติดต่อจากสิ่งมีชีวิตหนึ่งไปยังอีกสิ่งมีชีวิตหนึ่งได้ โดยไม่จำกัดว่าสิ่งมีชีวิตนั้นจะเป็นมนุษย์หรือไม่ก็ตาม โรคติดต่อสามารถแพร่ไปสู่สิ่งมีชีวิตอื่นได้โดยการสัมผัสโดยตรง การสูดดมหายใจเอาเชื้อโรคที่แพร่จากผู้ป่วย การรับประทานอาหารหรือน้ำดื่มที่มีเชื้อปนอยู่ หรือแม้แต่ผ่านตัวกลางที่เรียกว่าพาหะ หากโรคติดต่อนั้นๆมีการแพร่กระจายไปอย่างรวดเร็ว สู่ชุมชนที่มีประชากรจำนวนมาก โรคดังกล่าวก็กลายเป็นโรคระบาด
จากข้อมูลย้อนหลัง3ปีพบผู้ป่วยโรคด้วยโรคติดต่อ ได้แก่ โรคไข้เลือดออก ปี 2565 จำนวน 68 ราย ปี 2566 จำนวน 109 ราย ปี 2567 จำนวน 19 ราย โรคมือเท้าปาก ปี 2565 จำนวน6ราย ปี 2566 จำนวน8รายปี 2567 จำนวน 2 รายโรคหัด ปี 2565 จำนวน 1 ราย ปี 2566 จำนวน 2 ราย ปี 2567 จำนวน 3 ราย โรคฉี่หนูปี 2565 จำนวน 1 ราย ปี 2566 จำนวน 3 ราย ปี 2567ไม่มีผู้ป่วย และโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นโรคสุกใส ไข้หวัดใหญ่ วัณโรค และอื่นๆ ยังคงพบผู้ป่วยทุกปี
จากปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดต่อมีมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดนำนโยบายการจัดการสุขภาวะ เชื่อมโยงสู่การปฏิบัติเชิงรุกในการแก้ไขปัญหาโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมของพลังคนในชุมชนให้เกิดการตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคติดต่อ เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเองโรคติดต่อที่พบเจอภายในเขตเทศบาลตำบลปริก นำไปสู่การปฏิบัติการเฝ้าระวังและควบคุมป้องกันไม่ให้มีการแพร่ระบาดเพิ่มขึ้น
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลตำบลปริก ได้จัดทำโครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ
ปีงบประมาณ 2568ดังกล่าวขึ้น เพื่อป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลปริกต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง
- เพื่อลดอัตราป่วยและตายด้วยโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ที่จำเป็น ในการป้องกันและควบคุมโรคสามารถรับมือกับสถานการณ์โรค
- ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารให้ประชาชนและรณรงค์ป้องกันการระบาดของโรคในพื้นที่
- กิจกรรม รณรงค์ เฝ้าระวัง ควบคุมโรค ตามเกณฑ์การควบคุมโรคของโรคติดต่อนั้นๆ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
6,448
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนมีความตื่นตัวในการป้องกันโรคติดต่อด้วยตนเอง
2.อัตราป่วยลดลงและไม่มีอัตราตายจากโรคติดต่อ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง
ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ :
ดำเนินการเฝ้าระวัง ควบคุมโรคกรณีเกิดโรคตามเกณฑ์ของโรคนั้นๆ ร้อยละ 100
ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ :
1.วัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพในการป้องกันควบคุมโรค
2.สามารถควบคุมสถานการณ์กรณีมีการระบาดของโรคได้
0.00
2
เพื่อลดอัตราป่วยและตายด้วยโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
6448
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
6,448
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง (2) เพื่อลดอัตราป่วยและตายด้วยโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ที่จำเป็น ในการป้องกันและควบคุมโรคสามารถรับมือกับสถานการณ์โรค (2) ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารให้ประชาชนและรณรงค์ป้องกันการระบาดของโรคในพื้นที่ (3) กิจกรรม รณรงค์ เฝ้าระวัง ควบคุมโรค ตามเกณฑ์การควบคุมโรคของโรคติดต่อนั้นๆ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อในชุมชน ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68 – L7889 -01-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวอัมพร ศิริวัฒน์ ผอ.กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อในชุมชน ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอัมพร ศิริวัฒน์ ผอ.กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68 – L7889 -01-01 เลขที่ข้อตกลง 01/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อในชุมชน ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อในชุมชน ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อในชุมชน ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68 – L7889 -01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 182,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 13 พ.ศ. 2552 กำหนดให้เทศบาลตำบลมีหน้าที่ป้องกันและระงับโรคติดต่อ ซึ่งโรคติดต่อหมายถึง โรคที่สามารถถ่ายทอด หรือติดต่อจากสิ่งมีชีวิตหนึ่งไปยังอีกสิ่งมีชีวิตหนึ่งได้ โดยไม่จำกัดว่าสิ่งมีชีวิตนั้นจะเป็นมนุษย์หรือไม่ก็ตาม โรคติดต่อสามารถแพร่ไปสู่สิ่งมีชีวิตอื่นได้โดยการสัมผัสโดยตรง การสูดดมหายใจเอาเชื้อโรคที่แพร่จากผู้ป่วย การรับประทานอาหารหรือน้ำดื่มที่มีเชื้อปนอยู่ หรือแม้แต่ผ่านตัวกลางที่เรียกว่าพาหะ หากโรคติดต่อนั้นๆมีการแพร่กระจายไปอย่างรวดเร็ว สู่ชุมชนที่มีประชากรจำนวนมาก โรคดังกล่าวก็กลายเป็นโรคระบาด
จากข้อมูลย้อนหลัง3ปีพบผู้ป่วยโรคด้วยโรคติดต่อ ได้แก่ โรคไข้เลือดออก ปี 2565 จำนวน 68 ราย ปี 2566 จำนวน 109 ราย ปี 2567 จำนวน 19 ราย โรคมือเท้าปาก ปี 2565 จำนวน6ราย ปี 2566 จำนวน8รายปี 2567 จำนวน 2 รายโรคหัด ปี 2565 จำนวน 1 ราย ปี 2566 จำนวน 2 ราย ปี 2567 จำนวน 3 ราย โรคฉี่หนูปี 2565 จำนวน 1 ราย ปี 2566 จำนวน 3 ราย ปี 2567ไม่มีผู้ป่วย และโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นโรคสุกใส ไข้หวัดใหญ่ วัณโรค และอื่นๆ ยังคงพบผู้ป่วยทุกปี
จากปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดต่อมีมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดนำนโยบายการจัดการสุขภาวะ เชื่อมโยงสู่การปฏิบัติเชิงรุกในการแก้ไขปัญหาโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมของพลังคนในชุมชนให้เกิดการตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคติดต่อ เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเองโรคติดต่อที่พบเจอภายในเขตเทศบาลตำบลปริก นำไปสู่การปฏิบัติการเฝ้าระวังและควบคุมป้องกันไม่ให้มีการแพร่ระบาดเพิ่มขึ้น
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลตำบลปริก ได้จัดทำโครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ
ปีงบประมาณ 2568ดังกล่าวขึ้น เพื่อป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลปริกต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง
- เพื่อลดอัตราป่วยและตายด้วยโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ที่จำเป็น ในการป้องกันและควบคุมโรคสามารถรับมือกับสถานการณ์โรค
- ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารให้ประชาชนและรณรงค์ป้องกันการระบาดของโรคในพื้นที่
- กิจกรรม รณรงค์ เฝ้าระวัง ควบคุมโรค ตามเกณฑ์การควบคุมโรคของโรคติดต่อนั้นๆ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 6,448 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนมีความตื่นตัวในการป้องกันโรคติดต่อด้วยตนเอง 2.อัตราป่วยลดลงและไม่มีอัตราตายจากโรคติดต่อ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ : ดำเนินการเฝ้าระวัง ควบคุมโรคกรณีเกิดโรคตามเกณฑ์ของโรคนั้นๆ ร้อยละ 100 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ : 1.วัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพในการป้องกันควบคุมโรค 2.สามารถควบคุมสถานการณ์กรณีมีการระบาดของโรคได้ |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อลดอัตราป่วยและตายด้วยโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 6448 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 6,448 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง (2) เพื่อลดอัตราป่วยและตายด้วยโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ที่จำเป็น ในการป้องกันและควบคุมโรคสามารถรับมือกับสถานการณ์โรค (2) ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารให้ประชาชนและรณรงค์ป้องกันการระบาดของโรคในพื้นที่ (3) กิจกรรม รณรงค์ เฝ้าระวัง ควบคุมโรค ตามเกณฑ์การควบคุมโรคของโรคติดต่อนั้นๆ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อในชุมชน ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68 – L7889 -01-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวอัมพร ศิริวัฒน์ ผอ.กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......