โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ลดภาวะคลอดก่อนกำหนดในหญิงตั้งครรภ์ และดูแลหญิงหลังคลอด
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ลดภาวะคลอดก่อนกำหนดในหญิงตั้งครรภ์ และดูแลหญิงหลังคลอด ”
ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอัมพร ศิริวัฒน์ ผอ.กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ลดภาวะคลอดก่อนกำหนดในหญิงตั้งครรภ์ และดูแลหญิงหลังคลอด
ที่อยู่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68 – L7889 -01-02 เลขที่ข้อตกลง 02/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ลดภาวะคลอดก่อนกำหนดในหญิงตั้งครรภ์ และดูแลหญิงหลังคลอด จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ลดภาวะคลอดก่อนกำหนดในหญิงตั้งครรภ์ และดูแลหญิงหลังคลอด
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ลดภาวะคลอดก่อนกำหนดในหญิงตั้งครรภ์ และดูแลหญิงหลังคลอด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68 – L7889 -01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
ด้วย คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล ในฐานะคณะกรรมการอำนวยการโครงการเครือข่ายสุขภาพมารดาและทารกเพื่อครอบครัวไทย ในพระราชูปถัมถ์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฏราชกุมารร่วมกับกระทรวงมหาดไทย ได้ดำเนินโครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด เพื่อขับเคลื่อนและบูรณาการการทำงานร่วมกันในระบบส่งเสริมสุขภาพและดูแลรักษาหญิงตั้งครรภ์ เพื่อลดอัตราการคลอดก่อนกำหนดของประเทศ
จากข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี ของ Heath Data Center Report พบว่าอำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ในปี 2565 มีหญิงคลอดก่อนกำหนด 13 คน คิดเป็นร้อยละ 4.61 ปี 2566 มีหญิงคลอดก่อนกำหนด 20 คน คิดเป็นร้อยละ 6.33 ปี 2567 มีหญิงคลอดก่อนกำหนด 27 คน คิดเป็นร้อยละ 6.84
ข้อมูลสถิติจากกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ย้อนหลัง 3 ปี
• ปี 2564 อัตราการคลอดในกลุ่มอายุ 15 - 19 ปี อยู่ที่ 25 ต่อ 1,000 ประชากร
• ปี 2563 อัตราการคลอดในกลุ่มอายุ 15 - 19 ปี อยู่ที่ 28.7 ต่อ 1,000 ประชากร
• ปี 2562 อัตราการคลอดในกลุ่มอายุ 15 - 19 ปี อยู่ที่ 31 ต่อ 1,000 ประชากร
• ปี 2564 อัตราการคลอดในกลุ่มอายุ 10 - 14 ปี อยู่ที่ 0.9 ต่อ 1,000 ประชากร
• ปี 2563 อัตราการคลอดในกลุ่มอายุ 10 - 14 ปี อยู่ที่ 0.81 ต่อ 1,000 ประชากร
• ปี 2562 อัตราการคลอดในกลุ่มอายุ 10 - 14 ปี อยู่ที่ 0.85 ต่อ 1,000 ประชากร
ขณะที่กระทรวงสาธารณสุขได้ดำเนินการขับเคลื่อนงาน เพื่อลดอัตราการตั้งครรภ์ไม่พร้อมอย่างต่อเนื่องสามารถทำให้อัตราดังกล่าวเป็นไปตามเป้าหมายดังกล่าวแล้ว คือในปี 2563 ตั้งเป้าว่า เด็กในช่วงอายุ 10 – 14 ปี ที่ไม่ควรมีการตั้งครรภ์เกิดขึ้น อย่างน้อยก็ให้เหลือเพียง 0.5 ต่อจำนวนประชากร 1,000 คน ส่วนในช่วงวัย 15 – 19 ปี เป้าหมายคือ 25 ต่อประชากร 1,000 คน และได้กำหนดให้มีเป้าหมายใหม่คือ ให้อัตราการตั้งครรภ์ในเด็กที่มีอายุระหว่าง 15-19 ปี อยู่ที่ 15 คน ต่อจำนวนประชากร 1,000 คน ภายในปี 2570 และยังคงค่าเป้าหมาย อัตราคลอดในวัยรุ่นอายุ 10 - 14 ปี ไว้ที่ ไม่เกิน 0.5 ต่อจำนวนประชากร 1,000 คน
เพื่อให้การขับเคลื่อนโครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ลดภาวะคลอดก่อนกำหนดในหญิงตั้งครรภ์ และหญิงหลังคลอดสามารถดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสม บรรลุตามวัตถุประสงค์
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลปริก จึงขอเสนอโครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ลดภาวะคลอดก่อนกำหนดในหญิงตั้งครรภ์ และหญิงหลังคลอดสามารถดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสม เพื่อเสนอขอรับสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเฝ้าระวังไม่ให้เกิดการตั้งครรภ์ในวัยเรียน
- เพื่อเฝ้าระวังไม่ให้เกิดภาวะคลอดก่อนกำหนด
- เพื่อให้หญิงหลังคลอดดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- มอบของเยี่ยม ไข่และนม แก่หญิงตั้งครรภ์
- ค่าวัสดุ อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องในโครงการ
- ประชุมคณะกรรมการ (รวมคณะทำงาน จำนวน 38 คน)
- จัดอบรม ครั้งที่ 1 เรื่องการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรและสุขภาพจิตในวัยรุ่น
- จัดอบรม ครั้งที่ 2 เรื่องการคุมกำเนิด การป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนด และการดูแลตนเองของหญิงหลังคลอด
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
60
กลุ่มวัยทำงาน
72
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
10
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ประชาชนเกิดการตระหนักรู้และการรับรู้ในการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น การลดภาวะคลอดก่อนกำหนด และการดูแลตนเองหลังคลอดได้อย่างเหมาะสม
ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนเชิงรุกในการดำเนินงานป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น การลดภาวะคลอดก่อนกำหนดในหญิงตั้งครรภ์ และการดูแลตอนเองของหญิงหลังคลอดได้อย่างเหมาะสม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเฝ้าระวังไม่ให้เกิดการตั้งครรภ์ในวัยเรียน
ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ : นักเรียนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 100
ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ : นักเรียนของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ไม่มีการตั้งครรภ์
0.00
2
เพื่อเฝ้าระวังไม่ให้เกิดภาวะคลอดก่อนกำหนด
ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ : หญิงตั้งครรภ์ สตรีวัยเจริญพันธุ์ และหญิงหลังคลอด เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 100
ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ : หญิงตั้งครรภ์ที่เข้าร่วมโครงการ ไม่มีภาวะคลอดก่อนกำหนด
0.00
3
เพื่อให้หญิงหลังคลอดดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ : หญิงตั้งครรภ์ สตรีวัยเจริญพันธุ์ และหญิงหลังคลอด เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 100
ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ : หญิงหลังคลอดที่เข้าร่วมโครงการ สามารถดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสม และไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
142
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
60
กลุ่มวัยทำงาน
72
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
10
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังไม่ให้เกิดการตั้งครรภ์ในวัยเรียน (2) เพื่อเฝ้าระวังไม่ให้เกิดภาวะคลอดก่อนกำหนด (3) เพื่อให้หญิงหลังคลอดดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) มอบของเยี่ยม ไข่และนม แก่หญิงตั้งครรภ์ (2) ค่าวัสดุ อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องในโครงการ (3) ประชุมคณะกรรมการ (รวมคณะทำงาน จำนวน 38 คน) (4) จัดอบรม ครั้งที่ 1 เรื่องการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรและสุขภาพจิตในวัยรุ่น (5) จัดอบรม ครั้งที่ 2 เรื่องการคุมกำเนิด การป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนด และการดูแลตนเองของหญิงหลังคลอด
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ลดภาวะคลอดก่อนกำหนดในหญิงตั้งครรภ์ และดูแลหญิงหลังคลอด จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68 – L7889 -01-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวอัมพร ศิริวัฒน์ ผอ.กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ลดภาวะคลอดก่อนกำหนดในหญิงตั้งครรภ์ และดูแลหญิงหลังคลอด ”
ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอัมพร ศิริวัฒน์ ผอ.กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68 – L7889 -01-02 เลขที่ข้อตกลง 02/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ลดภาวะคลอดก่อนกำหนดในหญิงตั้งครรภ์ และดูแลหญิงหลังคลอด จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ลดภาวะคลอดก่อนกำหนดในหญิงตั้งครรภ์ และดูแลหญิงหลังคลอด
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ลดภาวะคลอดก่อนกำหนดในหญิงตั้งครรภ์ และดูแลหญิงหลังคลอด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68 – L7889 -01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
ด้วย คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล ในฐานะคณะกรรมการอำนวยการโครงการเครือข่ายสุขภาพมารดาและทารกเพื่อครอบครัวไทย ในพระราชูปถัมถ์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฏราชกุมารร่วมกับกระทรวงมหาดไทย ได้ดำเนินโครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด เพื่อขับเคลื่อนและบูรณาการการทำงานร่วมกันในระบบส่งเสริมสุขภาพและดูแลรักษาหญิงตั้งครรภ์ เพื่อลดอัตราการคลอดก่อนกำหนดของประเทศ
จากข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี ของ Heath Data Center Report พบว่าอำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ในปี 2565 มีหญิงคลอดก่อนกำหนด 13 คน คิดเป็นร้อยละ 4.61 ปี 2566 มีหญิงคลอดก่อนกำหนด 20 คน คิดเป็นร้อยละ 6.33 ปี 2567 มีหญิงคลอดก่อนกำหนด 27 คน คิดเป็นร้อยละ 6.84
ข้อมูลสถิติจากกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ย้อนหลัง 3 ปี
• ปี 2564 อัตราการคลอดในกลุ่มอายุ 15 - 19 ปี อยู่ที่ 25 ต่อ 1,000 ประชากร
• ปี 2563 อัตราการคลอดในกลุ่มอายุ 15 - 19 ปี อยู่ที่ 28.7 ต่อ 1,000 ประชากร
• ปี 2562 อัตราการคลอดในกลุ่มอายุ 15 - 19 ปี อยู่ที่ 31 ต่อ 1,000 ประชากร
• ปี 2564 อัตราการคลอดในกลุ่มอายุ 10 - 14 ปี อยู่ที่ 0.9 ต่อ 1,000 ประชากร
• ปี 2563 อัตราการคลอดในกลุ่มอายุ 10 - 14 ปี อยู่ที่ 0.81 ต่อ 1,000 ประชากร
• ปี 2562 อัตราการคลอดในกลุ่มอายุ 10 - 14 ปี อยู่ที่ 0.85 ต่อ 1,000 ประชากร
ขณะที่กระทรวงสาธารณสุขได้ดำเนินการขับเคลื่อนงาน เพื่อลดอัตราการตั้งครรภ์ไม่พร้อมอย่างต่อเนื่องสามารถทำให้อัตราดังกล่าวเป็นไปตามเป้าหมายดังกล่าวแล้ว คือในปี 2563 ตั้งเป้าว่า เด็กในช่วงอายุ 10 – 14 ปี ที่ไม่ควรมีการตั้งครรภ์เกิดขึ้น อย่างน้อยก็ให้เหลือเพียง 0.5 ต่อจำนวนประชากร 1,000 คน ส่วนในช่วงวัย 15 – 19 ปี เป้าหมายคือ 25 ต่อประชากร 1,000 คน และได้กำหนดให้มีเป้าหมายใหม่คือ ให้อัตราการตั้งครรภ์ในเด็กที่มีอายุระหว่าง 15-19 ปี อยู่ที่ 15 คน ต่อจำนวนประชากร 1,000 คน ภายในปี 2570 และยังคงค่าเป้าหมาย อัตราคลอดในวัยรุ่นอายุ 10 - 14 ปี ไว้ที่ ไม่เกิน 0.5 ต่อจำนวนประชากร 1,000 คน
เพื่อให้การขับเคลื่อนโครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ลดภาวะคลอดก่อนกำหนดในหญิงตั้งครรภ์ และหญิงหลังคลอดสามารถดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสม บรรลุตามวัตถุประสงค์
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลปริก จึงขอเสนอโครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ลดภาวะคลอดก่อนกำหนดในหญิงตั้งครรภ์ และหญิงหลังคลอดสามารถดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสม เพื่อเสนอขอรับสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเฝ้าระวังไม่ให้เกิดการตั้งครรภ์ในวัยเรียน
- เพื่อเฝ้าระวังไม่ให้เกิดภาวะคลอดก่อนกำหนด
- เพื่อให้หญิงหลังคลอดดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- มอบของเยี่ยม ไข่และนม แก่หญิงตั้งครรภ์
- ค่าวัสดุ อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องในโครงการ
- ประชุมคณะกรรมการ (รวมคณะทำงาน จำนวน 38 คน)
- จัดอบรม ครั้งที่ 1 เรื่องการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรและสุขภาพจิตในวัยรุ่น
- จัดอบรม ครั้งที่ 2 เรื่องการคุมกำเนิด การป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนด และการดูแลตนเองของหญิงหลังคลอด
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 60 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 72 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 10 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ประชาชนเกิดการตระหนักรู้และการรับรู้ในการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น การลดภาวะคลอดก่อนกำหนด และการดูแลตนเองหลังคลอดได้อย่างเหมาะสม
ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนเชิงรุกในการดำเนินงานป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น การลดภาวะคลอดก่อนกำหนดในหญิงตั้งครรภ์ และการดูแลตอนเองของหญิงหลังคลอดได้อย่างเหมาะสม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเฝ้าระวังไม่ให้เกิดการตั้งครรภ์ในวัยเรียน ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ : นักเรียนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 100 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ : นักเรียนของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ไม่มีการตั้งครรภ์ |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อเฝ้าระวังไม่ให้เกิดภาวะคลอดก่อนกำหนด ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ : หญิงตั้งครรภ์ สตรีวัยเจริญพันธุ์ และหญิงหลังคลอด เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 100 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ : หญิงตั้งครรภ์ที่เข้าร่วมโครงการ ไม่มีภาวะคลอดก่อนกำหนด |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อให้หญิงหลังคลอดดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสม ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ : หญิงตั้งครรภ์ สตรีวัยเจริญพันธุ์ และหญิงหลังคลอด เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 100 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ : หญิงหลังคลอดที่เข้าร่วมโครงการ สามารถดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสม และไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 142 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 60 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 72 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 10 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังไม่ให้เกิดการตั้งครรภ์ในวัยเรียน (2) เพื่อเฝ้าระวังไม่ให้เกิดภาวะคลอดก่อนกำหนด (3) เพื่อให้หญิงหลังคลอดดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) มอบของเยี่ยม ไข่และนม แก่หญิงตั้งครรภ์ (2) ค่าวัสดุ อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องในโครงการ (3) ประชุมคณะกรรมการ (รวมคณะทำงาน จำนวน 38 คน) (4) จัดอบรม ครั้งที่ 1 เรื่องการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรและสุขภาพจิตในวัยรุ่น (5) จัดอบรม ครั้งที่ 2 เรื่องการคุมกำเนิด การป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนด และการดูแลตนเองของหญิงหลังคลอด
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ลดภาวะคลอดก่อนกำหนดในหญิงตั้งครรภ์ และดูแลหญิงหลังคลอด จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68 – L7889 -01-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวอัมพร ศิริวัฒน์ ผอ.กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......