กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการ บ้านนอกโมเดลส่งเสริมอาหารเพื่อสุขภาพ เค็มน้อย ปรุงอร่อย ลดโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง ปี 2568 ”
รพ.สต.บ้านนอก



หัวหน้าโครงการ
นายอนุพงษ์ ชำนิไพบูลย์




ชื่อโครงการ โครงการ บ้านนอกโมเดลส่งเสริมอาหารเพื่อสุขภาพ เค็มน้อย ปรุงอร่อย ลดโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง ปี 2568

ที่อยู่ รพ.สต.บ้านนอก จังหวัด

รหัสโครงการ 68-L2996-1-03 เลขที่ข้อตกลง 03/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ บ้านนอกโมเดลส่งเสริมอาหารเพื่อสุขภาพ เค็มน้อย ปรุงอร่อย ลดโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง ปี 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน รพ.สต.บ้านนอก

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ บ้านนอกโมเดลส่งเสริมอาหารเพื่อสุขภาพ เค็มน้อย ปรุงอร่อย ลดโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง ปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ บ้านนอกโมเดลส่งเสริมอาหารเพื่อสุขภาพ เค็มน้อย ปรุงอร่อย ลดโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ รพ.สต.บ้านนอก รหัสโครงการ 68-L2996-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) สิ่งแวดล้อมและสังคม กลุ่มเสี่ยงต้องได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพไม่ให้เกิดเป็นผู้ป่วยรายใหม่จึงนับว่าเป็นโรคและภัยสุขภาพที่เป็นปัญหาสำคัญอย่างยิ่งที่ต้องรีบดำเนินการแก้ไขป้องกัน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนอก ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าวจึงได้จัดทำ โครงการ บ้านนอกโมเดลส่งเสริมอาหารเพื่อสุขภาพ เค็มน้อย ปรุงอร่อย ลดโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง ปี 2568 ขึ้น เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง มีความรู้ความเข้าใจสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก ๓อ๒ส
กลุ่มเสี่ยงสามารถควบคุมระดับน้ำตาล และควบคุมระดับความดันโลหิตได้ ในเกณฑ์ปกติ เปลี่ยนกลับมาเป็นกลุ่มปกติ ได้ลดการเกิดผู้ป่วยรายใหม่โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน จากสถิติการเจ็บป่วยของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนอก อำเภอปะนาเระ จ.ปัตตานี พบว่า อัตราการป่วยด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่มักพบผู้ป่วยมากที่สุดในอันดับต้นของกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังจากผลการดำเนินงาน คัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในประชาชน อายุ 35 ปีขึ้นไป ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนอก ปีงบประมาณ 2568
กลุ่มเป้าหมายการคัดกรองโรค 1,630 ราย คัดกรองแล้ว 729 คน พบว่า ผลการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงพบกลุ่มเสี่ยง 152 รายคิดเป็นร้อยละร้อยละ 9.32 ผลการคัดกรองโรคเบาหวานพบกลุ่มเสี่ยง 85 ราย ร้อยละ (ลงว่าคัดกรองจริงล่าสุดไปเท่าไหร่)ดังนั้น การเสริมสร้างสุขภาพที่ดีและสร้างโอกาสสำหรับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสมให้กับประชาชนกลุ่มเสี่ยง จะช่วยทำให้กลุ่มเสี่ยงสามารถดูแลตนเองได้เป็นอย่างดี กลุ่มเสี่ยงมีความตระหนักและใช้ประสบการณ์ของผู้ป่วยคนอื่นๆในชุมชน เป็นตัวอย่างและปรับใช้ในการดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสม ไม่ก่อให้เกิดโรคก่อนวัยอันควร
ทั้งนี้การสร้างโอกาสดังกล่าวจึงจำเป็นต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน การใช้แนวทางที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ โดยเฉพาะการแก้ไขปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นในชุมชนด้วยตนเอง ซึ่งอาจต้องรณรงค์ให้ประชาชนปฏิบัติตัวให้ถูกต้อง โดยใช้หลัก 3 อ 2ส เช่น ลดอาหารที่มีรสหวาน มัน เค็ม รับประทานผักผลไม้มากขึ้น ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมออารมณ์หมั่นทำจิตใจให้สงบ ลด ละ เลิกสูบุหรี่และดื่มสุรา และส่งเสริมการขายอาหารสุขภาพเกิดขึ้นในชุมชน เป็นทางเลือกในการดูแลสุขถาพ รวมถึงการเปิดโอกาสในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ทั้งผู้ป่วย กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มปกติอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดกระบวนการดูแลสุขภาพที่เหมาะสม สอดคล้องกันไปอย่างต่อเนื่อง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนอก ได้ตระหนักถึงการเปิดโอกาสในการสร้างสุขภาวะของ ประชาชนในทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยนำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรค ๓อ ๒ส ตามวิถีชุมชน เพื่อการมีสุขภาพดีโดยมีเป้าหมายที่สำคัญ คือ การสร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชนทุกกลุ่ม เปิดโอกาสแลกเปลี่ยนวิถีด้านสุขภาวะและพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบัติตัวอย่างเหมาะสมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในระยะยาวและพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค ส่งผลต่อการมีสุขภาพดีถ้วนหน้าอย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการ บ้านนอกโมเดลส่งเสริมอาหารเพื่อสุขภาพ เค็มน้อย ปรุงอร่อย ลดโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง ปี 2568

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.ประชากรกลุ่มเสี่ยงป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงแลโรคเบาหวาน ไม่เกินร้อยละ 5 2.ร้อยละ 60 ประชากรกลุ่มเสี่ยงที่เข้ารับการอบรม ได้รับความรู้เกี่ยวกับเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมป้องกันการป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน 3.ประชากรกลุ่มเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน/กลุ่มที่มี BMI เกินได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร้อยละ 60 4.มีร้านค้าต้นแบบในชุมชนเกิดขึ้น 1 ร้าน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการ บ้านนอกโมเดลส่งเสริมอาหารเพื่อสุขภาพ เค็มน้อย ปรุงอร่อย ลดโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง ปี 2568

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ บ้านนอกโมเดลส่งเสริมอาหารเพื่อสุขภาพ เค็มน้อย ปรุงอร่อย ลดโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง ปี 2568 จังหวัด

รหัสโครงการ 68-L2996-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอนุพงษ์ ชำนิไพบูลย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด