กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการสะพานใจห่วงใยผู้สูงอายุติดบ้าน รพ.สต.บ้านท่าไทร ”
ตำบลเกาะยอ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางน้อมฤทัย ยังรอด




ชื่อโครงการ โครงการสะพานใจห่วงใยผู้สูงอายุติดบ้าน รพ.สต.บ้านท่าไทร

ที่อยู่ ตำบลเกาะยอ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5214-1-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสะพานใจห่วงใยผู้สูงอายุติดบ้าน รพ.สต.บ้านท่าไทร จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะยอ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะยอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสะพานใจห่วงใยผู้สูงอายุติดบ้าน รพ.สต.บ้านท่าไทร



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสะพานใจห่วงใยผู้สูงอายุติดบ้าน รพ.สต.บ้านท่าไทร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะยอ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5214-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะยอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ โดยเฉพาะในปี พ.ศ. 2567 ซึ่งมีแนวโน้มผู้สูงอายุเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยในเขตพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าไทร ตำบลเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา พบว่ามีผู้สูงอายุติดบ้านจำนวนหนึ่งที่ประสบปัญหาด้านสุขภาพและคุณภาพชีวิต ทั้งในด้านการเข้าถึงบริการสุขภาพความโดดเดี่ยว ขาดการปฏิสัมพันธ์ทางสังคม และการขาดแคลนการสนับสนุนทางการเงินที่เพียงพอ ซึ่งปัะจจัยเหล่านี้ส่งผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพกาย สุขภาพจิต และความเป็นอยู่ของผู้สูงอายุในระยะยาว รวมถึงส่งผลให้ผู้สูงอายุกลุ่มนี้ต้องการการดูแลที่ครอบคลุมทั้งด้านสุขภาพร่างกายและจิตใจ รวมถึงการสนับสนุนจากครอบครัวและชุมชนอย่างยั่งยืน ผู้สูงอายุติดบ้านในชุมชน รพ.สต. บ้านท่าไทรพบว่า 5 อันดับความต้องการหลักของผู้สูงอายุได้แก่       1.การช่วยติดต่อให้ได้พบบุตรหลานและคนในครอบครัว       2.การได้รับการสนับสนุนด้านการเงินที่เพียงพอ       3.การเข้าถึงการบริการสาธารณสุขแบบการดูแลใกล้ชิด       4.การมีโอกาสพบปะสังคมและร่วมกิจกรรมในชุมชน       5.การได้พบกับพระในขณะยังมีชีวิต การที่ผู้สูงอายุติดบ้านได้พบปะครอบครัวลูกหลานถือเป็นการสร้างสุขภาวะทางจิตใจ ลดความเหงาและความรู้สึกโดดเดี่ยว นอกจากนี้ การสนับสนุนด้านการเงินก็มีความสำคัญเพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถดำรงชีวิตได้อย่างพอเพียง ขณะที่การเข้าถึงบริการสาธารณสุขของรัฐได้อย่างสะดวกและต่อเนื่องจะช่วยให้ผู้สูงอายุติดบ้านได้รับการดูแลสุขภาพขั้นพื้นฐาน และป้องกันโรคเรื้อรังหรือทุพพลภาพที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต ด้านความสัมพันธ์ทางสังคม ผู้สูงอายุติดบ้านยังต้องการโอกาสในการพบปะเพื่อนบ้านและมีส่วนร่วมในกิจกรรมชุมชน ซึ่งจะช่วยเสริมสร้างความสุข ลดภาวะซึมเศร้า และช่วยให้รู้สึกเชื่อมโยงกับสังคมอย่างมีคุณค่า       ด้วยเหตุนี้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าไทร จึงได้จัดทำโครงการ "สะพานใจห่วงใยผู้สูงอายุติดบ้าน" โดยเป้าหมายในการจัดการดูแลผู้สูงอายุติดบ้าน ด้านสุขภาพ การฟื้นฟูสมรรถภาพและการส่งเสริมสุขภาพจิตของผู้สูงอายุขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์ในการตอบสนองความต้องการของผู้สูงอายุติดบ้านทั้งในด้านสุขภาพและความเป็นอยู่ผ่านการดูแลและสนับสนุนจากเครือข่ายชุมชนและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) โดยดำเนินการในหมู่ที่ 5, หมู่ที่ 6, หมู่ที่ 7, หมู่ที่ 8, หมู่ที่ 9 ตำบลเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา โดยมีเป้าหมายสำคัญเน้นการสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกับครอบครัว การสนับสนุนด้านการเงินที่จำเป็น การเข้าถึงบริการสาธารณสุขของรัฐอย่างทั่วถึง และการสร้างเสริมสุขภาวะจิตใจผ่านการมีส่วนร่วมในกิจกรรมชุมชน รวมถึงครอบคลุมความต้องการของผู้สูงอายุติดบ้าน ได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพและการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน ส่งผลต่อการมีสุขภาพดีถ้วนหน้าอย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเสริมสร้างปฏิสัมพันธ์และความใกล้ชิดระหว่างผู้สูงอายุติดบ้านกับครอบครัว ช่วยให้ผู้สูงอายุรู้สึกมีคุณค่า
  2. เพื่อสนับสนุนการเข้าถึงบริการสาธารณสุขที่ครอบคลุมและการส่งเสริมรายได้ที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิตประจำวันของผู้สูงอายุติดบ้าน
  3. เพื่อส่งเสริมสุขภาวะทางจิตวิญญาณของผู้สูงอายุติดบ้าน โดยจัดให้มีการพบปะทางศาสนาและกิจกรรมชุมชนที่ช่วยสร้างความสงบสุขและจิตใจที่มั่นคง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องโครงการ "สะพานใจห่วงใยผู้สูงอายุติดบ้าน" ให้กับกลุ่มที่เข้าร่วมโครงการ
  2. จัดกิจกรรมตามโครงการ "สะพานใจห่วงใยผู้สูงอายุติดบ้าน" โดยอบรมบรรยายในหัวข้อ ต่างๆ
  3. มีกิจกรรม (จัดขึ้นในวันที่ 2)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุติดบ้านมีความสุขและสุขภาวะทางจิตใจที่ดี จากการมีปฏิสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกับครอบครัวและการเข้าร่วมกิจกรรมในชุมชน 2.ผู้สูงอายุติดบ้านมีรายได้เสริมจากกิจกรรมงานฝีมือที่สอดคล้องกับศักยภาพ ซึ่งจะช่วยให้พวกเขามีความรู้สึกมีคุณค่าและมีความมั่นคงทางการเงินมากขึ้น 3.การทำงานร่วมกันของหน่วยงานในชุมชนและเครือข่ายภาคีช่วยเสริมสร้างการดูแลผู้สูงอายุติดบ้านในระยะยาว ส่งผลให้ชุมชนมีการพัฒนาและเข้มเเข็งอย่างยั่งยืน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเสริมสร้างปฏิสัมพันธ์และความใกล้ชิดระหว่างผู้สูงอายุติดบ้านกับครอบครัว ช่วยให้ผู้สูงอายุรู้สึกมีคุณค่า
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้สูงอายุติดบ้านมีปฏิสัมพันธ์ความใกล้ชิดระหว่างผู้สูงอายุติดบ้านกับครอบครัวช่วยให้ผู้สูงอายุรู้สึกมีคุณค่า
90.00

 

2 เพื่อสนับสนุนการเข้าถึงบริการสาธารณสุขที่ครอบคลุมและการส่งเสริมรายได้ที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิตประจำวันของผู้สูงอายุติดบ้าน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ผู้สูงอายุติดบ้านเข้าถึงด้านบริการสาธารณสุขที่ครอบคลุมและการส่งเสริมรายได้ที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิตประจำวันของผู้สูงอายุติดบ้าน
90.00

 

3 เพื่อส่งเสริมสุขภาวะทางจิตวิญญาณของผู้สูงอายุติดบ้าน โดยจัดให้มีการพบปะทางศาสนาและกิจกรรมชุมชนที่ช่วยสร้างความสงบสุขและจิตใจที่มั่นคง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้สูงอายุติดบ้านมีสุขภาวะทางจิตวิญญาณของผู้สูงอายุติดบ้านโดยจัดให้มีการพบปะทางศาสนาและกิจกรรมทางชุมชนที่ช่วยสร้างความสงบสุขและจิตใจที่มั่นคง
90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างปฏิสัมพันธ์และความใกล้ชิดระหว่างผู้สูงอายุติดบ้านกับครอบครัว ช่วยให้ผู้สูงอายุรู้สึกมีคุณค่า (2) เพื่อสนับสนุนการเข้าถึงบริการสาธารณสุขที่ครอบคลุมและการส่งเสริมรายได้ที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิตประจำวันของผู้สูงอายุติดบ้าน (3) เพื่อส่งเสริมสุขภาวะทางจิตวิญญาณของผู้สูงอายุติดบ้าน โดยจัดให้มีการพบปะทางศาสนาและกิจกรรมชุมชนที่ช่วยสร้างความสงบสุขและจิตใจที่มั่นคง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้เรื่องโครงการ "สะพานใจห่วงใยผู้สูงอายุติดบ้าน" ให้กับกลุ่มที่เข้าร่วมโครงการ (2) จัดกิจกรรมตามโครงการ "สะพานใจห่วงใยผู้สูงอายุติดบ้าน" โดยอบรมบรรยายในหัวข้อ ต่างๆ (3) มีกิจกรรม (จัดขึ้นในวันที่ 2)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสะพานใจห่วงใยผู้สูงอายุติดบ้าน รพ.สต.บ้านท่าไทร จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5214-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางน้อมฤทัย ยังรอด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด