โครงการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ในเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านปริกใต้ (นำราษฎร์สามัคคี)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ในเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านปริกใต้ (นำราษฎร์สามัคคี) ”
โรงเรียนบ้านปริกใต้ (นำราษฎร์สามัคคี) ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางวาทินี สว่างรัตน์ ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านปริกใต้ (นำราษฎร์สามัคคี)
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ในเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านปริกใต้ (นำราษฎร์สามัคคี)
ที่อยู่ โรงเรียนบ้านปริกใต้ (นำราษฎร์สามัคคี) ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68 – L7889 -02-02 เลขที่ข้อตกลง 05/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 29 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ในเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านปริกใต้ (นำราษฎร์สามัคคี) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนบ้านปริกใต้ (นำราษฎร์สามัคคี) ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ในเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านปริกใต้ (นำราษฎร์สามัคคี)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ในเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านปริกใต้ (นำราษฎร์สามัคคี) " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนบ้านปริกใต้ (นำราษฎร์สามัคคี) ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68 – L7889 -02-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 29 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,100.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล
อาหารมีความสำคัญในทุกเพศและทุกวัย โดยเฉพาะสำหรับเด็กวัยเรียน ซึ่งเป็นวัยที่ร่างกายกำลังเจริญเติบโต และเป็นช่วงที่สมองกำลังพัฒนา อาหารจึงมีความสำคัญอย่างมากสำหรับวัยนี้ ดังนั้น ควรรับประทานอาหารให้ครบทั้ง 5 หมู่ซึ่งในแต่ละหมู่ต้องมีความหลากหลายและปริมาณให้เพียงพอ เพื่อให้ร่างกายได้รับสารอาหารอย่างเพียงพอและเหมาะสม
เด็กวัยเรียนเป็นช่วงที่มีการเจริญเติบโตที่รวดเร็ว การได้รับสารอาหารมากเกินไปหรือขาดสารอาหารจะมีผลกระทบต่อเด็กได้ ผลกระทบที่พบประกอบด้วย ด้านสุขภาพร่างกาย ด้านสังคมและจิตใจ ด้านการเรียน และด้านเศรษฐกิจ ปัจจัยที่มีผลต่อปัญหาทุพโภชนาการในเด็กนักเรียนนั้น พบว่ามี 3 ปัจจัย ได้แก่ ส่วนบุคคล พฤติกรรม และอิทธิพลของสิ่งแวดล้อม ทั้งปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่บ้านและโรงเรียนที่มีส่วนทำให้เด็กนักเรียนมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม
จากการศึกษาข้อมูลสุขภาพของนักเรียน ปี พ.ศ. 2567 และบริบทสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนบ้านปริกใต้
(นำราษฎร์สามัคคี) มีจำนวนนักเรียนทั้งหมด 66 คน พบว่าโรงเรียนมีปัญหาด้านสุขภาพ นักเรียนมีภาวะทุพโภชณาการ จำนวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 58.00 ซึ่งเกิดจากสภาพเศรษฐกิจในครอบครัวของนักเรียนค่อนข้างลำบาก และผู้ปกครองยังไม่เห็นถึงความสำคัญของการเสริมสร้างสุขภาพอนามัยของตนเองทำให้นักเรียนส่วนหนึ่งยังมีปัญหาโรคผอมเกินไป
การเลือกซื้ออาหารที่ไม่มีประโยชน์ และขาดการออกกำลังกาย รวมไปถึงสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ โรงเรียนที่เอื้อต่อการทำให้นักเรียนมีปัญหาน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่เกิดจากการขาดสารอาหาร การรับประทานอาหารไม่เพียงพอต่อ
ความต้องการ ถึงจะมีจำนวนการเกิดปัญหาโรคผอมเกินไปไม่มากแต่ถ้าหากไม่มีการส่งเสริมเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ก็จะส่งผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการการเรียนรู้ของเด็กไม่ได้เต็มศักยภาพ ซึ่งในปีการศึกษาที่ผ่านมาโรงเรียน
บ้านปริกใต้ (นำราษฎร์สามัคคี) ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากมูลนิธิยุวพัฒน์ ภายใต้โครงการ Food For Good
ได้สนับสนุนเงินจำนวน 80,000 บาท จัดเป็นอาหารเช้าให้กับนักเรียนทุกคน เพื่อ แก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการ และส่งเสริมให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ และรับประทานอาหารครบมื้อ
ทั้งนี้ทางมูลนิธิยุวพัฒน์สนับสนุนเงินเป็นระยะเวลา 1 ปีการศึกษาเท่านั้น ในปีถัดไปให้โรงเรียนได้ดำเนินการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการ โดยไม่มีงบประมาณสนับสนุน จากเงื่อนไขดังกล่าวโรงเรียนจึงได้ดำเนินโครงการอาหารเช้าเพื่อน้องขึ้น เพื่อแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการ โรงเรียนได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพของนักเรียน โดยแก้ปัญหาและเสริมสร้าง ปลูกฝังสุขนิสัยที่ดีในการเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสมกับความต้องการของร่างกาย และถูกต้องตามหลักโภชนาการ เพื่อให้นักเรียนสามารถพัฒนาสุขภาพของตนเองได้อย่างยั่งยืน และที่สำคัญผู้ปกครองของเด็กนักเรียนจำเป็นต้องมีความรู้ เรื่องการรับประทานอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมของนักเรียนด้วย จึงได้จัดทำโครงการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ในเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านปริกใต้ (นำราษฎร์สามัคคี)
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ปกครองและผู้เรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ ต่ำกว่าเกณฑ์ ได้รับความรู้ในด้านการเลือกบริโภคอาหารที่เหมาะสมกับช่วงวัย
- เพื่อเปรียบเทียบภาวะโภชนาการ ต่ำกว่าเกณฑ์ ของผู้เรียน ก่อนและหลังการเข้าร่วมโครงการ มีจำนวนลดลง
- เพื่อลดจำนวนผู้เรียนที่มีภาวะโภชนาการ ต่ำกว่าเกณฑ์ และป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาภาวะโภชนาการ ต่ำกว่าเกณฑ์เพิ่มขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมจัดอบรม เรื่อง โภชนาการที่เหมาะสมกับเด็กวัยเรียน ให้ความรู้ ด้านการเลือกบริโภคอาหารที่เหมาะสมกับช่วงวัย
- กิจกรรมประเมินติดตามชั่งน้ำหนัก และวัดส่วนสูงของผู้เรียนที่มีภาวะโภชนาการ ต่ำกว่าเกณฑ์ ทุกเดือน เดือนละ ๑ ครั้ง
- กิจกรรมจัดอาหารเช้าเสริมก่อนเข้าเรียน ให้กับผู้เรียน ที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
38
กลุ่มวัยทำงาน
53
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้ปกครองและนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ มีความรู้ในด้านการเลือกบริโภคอาหารที่เหมาะสมกับช่วงวัย
นักเรียนได้รับสารอาหารที่เหมาะสมกับช่วงวัย ส่งผลต่อการเจริญเติบโตและมีพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กได้อย่างเต็มศักยภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้ปกครองและผู้เรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ ต่ำกว่าเกณฑ์ ได้รับความรู้ในด้านการเลือกบริโภคอาหารที่เหมาะสมกับช่วงวัย
ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมเข้าร่วมกิจกรรมการอบรมร้อยละ 100
ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ : นักเรียนและผู้ปกครองนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปปรับใช้ในการดูแลสุขภาพ และนักเรียนมีความรู้ในการเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสมต่อตนเอง
0.00
2
เพื่อเปรียบเทียบภาวะโภชนาการ ต่ำกว่าเกณฑ์ ของผู้เรียน ก่อนและหลังการเข้าร่วมโครงการ มีจำนวนลดลง
ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ : นักเรียนที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ ได้รับการประเมินติดตาม ชั่งน้ำหนัก และวัดส่วนสูง ทุกเดือน เดือนละ ๑ ครั้ง ร้อยละ ๑๐๐
ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ : ปัญหานักเรียนที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ มีจำนวนลดน้อยลง
0.00
3
เพื่อลดจำนวนผู้เรียนที่มีภาวะโภชนาการ ต่ำกว่าเกณฑ์ และป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาภาวะโภชนาการ ต่ำกว่าเกณฑ์เพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ : นักเรียนที่มีภาวะโภชนาการ ต่ำกว่าเกณฑ์ ได้รับอาหารเช้าเสริมก่อนเข้าเรียนทุกวัน ร้อยละ ๑๐๐
ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ : นักเรียนมีภาวะการเจริญเติบโตที่ดีขึ้น
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
91
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
38
กลุ่มวัยทำงาน
53
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองและผู้เรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ ต่ำกว่าเกณฑ์ ได้รับความรู้ในด้านการเลือกบริโภคอาหารที่เหมาะสมกับช่วงวัย (2) เพื่อเปรียบเทียบภาวะโภชนาการ ต่ำกว่าเกณฑ์ ของผู้เรียน ก่อนและหลังการเข้าร่วมโครงการ มีจำนวนลดลง (3) เพื่อลดจำนวนผู้เรียนที่มีภาวะโภชนาการ ต่ำกว่าเกณฑ์ และป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาภาวะโภชนาการ ต่ำกว่าเกณฑ์เพิ่มขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมจัดอบรม เรื่อง โภชนาการที่เหมาะสมกับเด็กวัยเรียน ให้ความรู้ ด้านการเลือกบริโภคอาหารที่เหมาะสมกับช่วงวัย (2) กิจกรรมประเมินติดตามชั่งน้ำหนัก และวัดส่วนสูงของผู้เรียนที่มีภาวะโภชนาการ ต่ำกว่าเกณฑ์ ทุกเดือน เดือนละ ๑ ครั้ง (3) กิจกรรมจัดอาหารเช้าเสริมก่อนเข้าเรียน ให้กับผู้เรียน ที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ในเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านปริกใต้ (นำราษฎร์สามัคคี) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68 – L7889 -02-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางวาทินี สว่างรัตน์ ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านปริกใต้ (นำราษฎร์สามัคคี) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ในเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านปริกใต้ (นำราษฎร์สามัคคี) ”
โรงเรียนบ้านปริกใต้ (นำราษฎร์สามัคคี) ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางวาทินี สว่างรัตน์ ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านปริกใต้ (นำราษฎร์สามัคคี)
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ โรงเรียนบ้านปริกใต้ (นำราษฎร์สามัคคี) ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68 – L7889 -02-02 เลขที่ข้อตกลง 05/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 29 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ในเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านปริกใต้ (นำราษฎร์สามัคคี) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนบ้านปริกใต้ (นำราษฎร์สามัคคี) ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ในเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านปริกใต้ (นำราษฎร์สามัคคี)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ในเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านปริกใต้ (นำราษฎร์สามัคคี) " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนบ้านปริกใต้ (นำราษฎร์สามัคคี) ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68 – L7889 -02-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 29 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,100.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล
อาหารมีความสำคัญในทุกเพศและทุกวัย โดยเฉพาะสำหรับเด็กวัยเรียน ซึ่งเป็นวัยที่ร่างกายกำลังเจริญเติบโต และเป็นช่วงที่สมองกำลังพัฒนา อาหารจึงมีความสำคัญอย่างมากสำหรับวัยนี้ ดังนั้น ควรรับประทานอาหารให้ครบทั้ง 5 หมู่ซึ่งในแต่ละหมู่ต้องมีความหลากหลายและปริมาณให้เพียงพอ เพื่อให้ร่างกายได้รับสารอาหารอย่างเพียงพอและเหมาะสม
เด็กวัยเรียนเป็นช่วงที่มีการเจริญเติบโตที่รวดเร็ว การได้รับสารอาหารมากเกินไปหรือขาดสารอาหารจะมีผลกระทบต่อเด็กได้ ผลกระทบที่พบประกอบด้วย ด้านสุขภาพร่างกาย ด้านสังคมและจิตใจ ด้านการเรียน และด้านเศรษฐกิจ ปัจจัยที่มีผลต่อปัญหาทุพโภชนาการในเด็กนักเรียนนั้น พบว่ามี 3 ปัจจัย ได้แก่ ส่วนบุคคล พฤติกรรม และอิทธิพลของสิ่งแวดล้อม ทั้งปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่บ้านและโรงเรียนที่มีส่วนทำให้เด็กนักเรียนมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม
จากการศึกษาข้อมูลสุขภาพของนักเรียน ปี พ.ศ. 2567 และบริบทสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนบ้านปริกใต้
(นำราษฎร์สามัคคี) มีจำนวนนักเรียนทั้งหมด 66 คน พบว่าโรงเรียนมีปัญหาด้านสุขภาพ นักเรียนมีภาวะทุพโภชณาการ จำนวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 58.00 ซึ่งเกิดจากสภาพเศรษฐกิจในครอบครัวของนักเรียนค่อนข้างลำบาก และผู้ปกครองยังไม่เห็นถึงความสำคัญของการเสริมสร้างสุขภาพอนามัยของตนเองทำให้นักเรียนส่วนหนึ่งยังมีปัญหาโรคผอมเกินไป
การเลือกซื้ออาหารที่ไม่มีประโยชน์ และขาดการออกกำลังกาย รวมไปถึงสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ โรงเรียนที่เอื้อต่อการทำให้นักเรียนมีปัญหาน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่เกิดจากการขาดสารอาหาร การรับประทานอาหารไม่เพียงพอต่อ
ความต้องการ ถึงจะมีจำนวนการเกิดปัญหาโรคผอมเกินไปไม่มากแต่ถ้าหากไม่มีการส่งเสริมเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ก็จะส่งผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการการเรียนรู้ของเด็กไม่ได้เต็มศักยภาพ ซึ่งในปีการศึกษาที่ผ่านมาโรงเรียน
บ้านปริกใต้ (นำราษฎร์สามัคคี) ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากมูลนิธิยุวพัฒน์ ภายใต้โครงการ Food For Good
ได้สนับสนุนเงินจำนวน 80,000 บาท จัดเป็นอาหารเช้าให้กับนักเรียนทุกคน เพื่อ แก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการ และส่งเสริมให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ และรับประทานอาหารครบมื้อ
ทั้งนี้ทางมูลนิธิยุวพัฒน์สนับสนุนเงินเป็นระยะเวลา 1 ปีการศึกษาเท่านั้น ในปีถัดไปให้โรงเรียนได้ดำเนินการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการ โดยไม่มีงบประมาณสนับสนุน จากเงื่อนไขดังกล่าวโรงเรียนจึงได้ดำเนินโครงการอาหารเช้าเพื่อน้องขึ้น เพื่อแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการ โรงเรียนได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพของนักเรียน โดยแก้ปัญหาและเสริมสร้าง ปลูกฝังสุขนิสัยที่ดีในการเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสมกับความต้องการของร่างกาย และถูกต้องตามหลักโภชนาการ เพื่อให้นักเรียนสามารถพัฒนาสุขภาพของตนเองได้อย่างยั่งยืน และที่สำคัญผู้ปกครองของเด็กนักเรียนจำเป็นต้องมีความรู้ เรื่องการรับประทานอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมของนักเรียนด้วย จึงได้จัดทำโครงการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ในเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านปริกใต้ (นำราษฎร์สามัคคี)
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ปกครองและผู้เรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ ต่ำกว่าเกณฑ์ ได้รับความรู้ในด้านการเลือกบริโภคอาหารที่เหมาะสมกับช่วงวัย
- เพื่อเปรียบเทียบภาวะโภชนาการ ต่ำกว่าเกณฑ์ ของผู้เรียน ก่อนและหลังการเข้าร่วมโครงการ มีจำนวนลดลง
- เพื่อลดจำนวนผู้เรียนที่มีภาวะโภชนาการ ต่ำกว่าเกณฑ์ และป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาภาวะโภชนาการ ต่ำกว่าเกณฑ์เพิ่มขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมจัดอบรม เรื่อง โภชนาการที่เหมาะสมกับเด็กวัยเรียน ให้ความรู้ ด้านการเลือกบริโภคอาหารที่เหมาะสมกับช่วงวัย
- กิจกรรมประเมินติดตามชั่งน้ำหนัก และวัดส่วนสูงของผู้เรียนที่มีภาวะโภชนาการ ต่ำกว่าเกณฑ์ ทุกเดือน เดือนละ ๑ ครั้ง
- กิจกรรมจัดอาหารเช้าเสริมก่อนเข้าเรียน ให้กับผู้เรียน ที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 38 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 53 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้ปกครองและนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ มีความรู้ในด้านการเลือกบริโภคอาหารที่เหมาะสมกับช่วงวัย
นักเรียนได้รับสารอาหารที่เหมาะสมกับช่วงวัย ส่งผลต่อการเจริญเติบโตและมีพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กได้อย่างเต็มศักยภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้ปกครองและผู้เรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ ต่ำกว่าเกณฑ์ ได้รับความรู้ในด้านการเลือกบริโภคอาหารที่เหมาะสมกับช่วงวัย ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมเข้าร่วมกิจกรรมการอบรมร้อยละ 100 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ : นักเรียนและผู้ปกครองนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปปรับใช้ในการดูแลสุขภาพ และนักเรียนมีความรู้ในการเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสมต่อตนเอง |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อเปรียบเทียบภาวะโภชนาการ ต่ำกว่าเกณฑ์ ของผู้เรียน ก่อนและหลังการเข้าร่วมโครงการ มีจำนวนลดลง ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ : นักเรียนที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ ได้รับการประเมินติดตาม ชั่งน้ำหนัก และวัดส่วนสูง ทุกเดือน เดือนละ ๑ ครั้ง ร้อยละ ๑๐๐ ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ : ปัญหานักเรียนที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ มีจำนวนลดน้อยลง |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อลดจำนวนผู้เรียนที่มีภาวะโภชนาการ ต่ำกว่าเกณฑ์ และป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาภาวะโภชนาการ ต่ำกว่าเกณฑ์เพิ่มขึ้น ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ : นักเรียนที่มีภาวะโภชนาการ ต่ำกว่าเกณฑ์ ได้รับอาหารเช้าเสริมก่อนเข้าเรียนทุกวัน ร้อยละ ๑๐๐ ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ : นักเรียนมีภาวะการเจริญเติบโตที่ดีขึ้น |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 91 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 38 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 53 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองและผู้เรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ ต่ำกว่าเกณฑ์ ได้รับความรู้ในด้านการเลือกบริโภคอาหารที่เหมาะสมกับช่วงวัย (2) เพื่อเปรียบเทียบภาวะโภชนาการ ต่ำกว่าเกณฑ์ ของผู้เรียน ก่อนและหลังการเข้าร่วมโครงการ มีจำนวนลดลง (3) เพื่อลดจำนวนผู้เรียนที่มีภาวะโภชนาการ ต่ำกว่าเกณฑ์ และป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาภาวะโภชนาการ ต่ำกว่าเกณฑ์เพิ่มขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมจัดอบรม เรื่อง โภชนาการที่เหมาะสมกับเด็กวัยเรียน ให้ความรู้ ด้านการเลือกบริโภคอาหารที่เหมาะสมกับช่วงวัย (2) กิจกรรมประเมินติดตามชั่งน้ำหนัก และวัดส่วนสูงของผู้เรียนที่มีภาวะโภชนาการ ต่ำกว่าเกณฑ์ ทุกเดือน เดือนละ ๑ ครั้ง (3) กิจกรรมจัดอาหารเช้าเสริมก่อนเข้าเรียน ให้กับผู้เรียน ที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ในเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านปริกใต้ (นำราษฎร์สามัคคี) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68 – L7889 -02-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางวาทินี สว่างรัตน์ ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านปริกใต้ (นำราษฎร์สามัคคี) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......