โครงการส่งเสริมโภชนาการ ตาดีกาตากอง ปี 68
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมโภชนาการ ตาดีกาตากอง ปี 68 ”
หมู่ที่ 6 ตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายอุสมาน หะยีสมาแอ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมโภชนาการ ตาดีกาตากอง ปี 68
ที่อยู่ หมู่ที่ 6 ตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3065-2-04 เลขที่ข้อตกลง 09/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมโภชนาการ ตาดีกาตากอง ปี 68 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 6 ตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมโภชนาการ ตาดีกาตากอง ปี 68
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมโภชนาการ ตาดีกาตากอง ปี 68 " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 6 ตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3065-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนในพื้นที่จากสังคมชนบทเป็นสังคมเมือง สิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆเป็นปัจจัยหลักในการใช้ชีวิตของคนส่วนมาก สัมพันธภาพในครอบครัว ความอบอุ่น ขาดหายไปโดยไม่รู้ตัวผู้ปกครองไม่มีเวลาดูแลบุตรหลาน กินอาหารสำเร็จรูปกันมากขึ้นโดยไม่ได้ดูคุณค่าทางโภชนาการ ลืมในเรื่องของสุขภาพลูกๆ มองข้ามในเรื่องของภัยมืดที่คุกคามสุขภาพ เช่น การบริโภคอาหารสำเร็จรูป เด็กมีภาวะอ้วนเพิ่มขึ้น เด็กติดเกมส์ขาดกิจกรรมในการเคลื่อนไหว ขยับกาย การออกกำลังกาย ฯลฯ
ดังกล่าวข้างต้น ผู้ปกครองทุกคนที่จะต้องรับผิดชอบร่วมหากมีความรัก เป็นห่วงกับลูกของตัวเอง หากไม่ดูแลพฤติกรรมตั้งแต่ยังเด็กจะเกิดการสะสมส่งผลต่อสุขภาวะของเด็ก เช่น เด็กมีน้ำหนักเกินเกณฑ์หรือทานไม่ถูกต้องก็จะต่ำกว่าเกณฑ์ เด็กมีภาวะซีด มีภูมิคุ้มกันต่ำ ป่วยง่าย เป็นต้นต้องช่วยกันป้องกันและแก้ไข ทางชมรมตาดีกา หมู่ 6 ตากอง เห็นควรว่าการป้องกันปัญหาข้างต้นต้องแก้และป้องกันตั้งแต่กลุ่มเป้าหมายที่ยังเป็นเด็กวัยเรียน เพื่อจะได้เพาะองค์ความรู้ ทัศนคติ และปลูกจิตสำนึกที่ดีตั้งแต่เยาว์วัย มองเห็นว่าในขณะนี้เด็กมีพฤติกรรมทางด้านสุขภาพที่มีภาวะเสี่ยง เนื่องจากบริโภคนิยมที่กินขนมประเภทแป้ง น้ำตาล ขาดกิจกรรมทางกาย ขาดทักษะชีวิต เหตุเนื่องจากสิ่งอำนวยความสะดวกที่พ่อแม่หาให้ เด็กมีความก้าวร้าว โลกส่วนตัวสูง เนื่องจากสื่อต่างๆเช่น ติดเกมส์ สื่อออนไลน์ต่างๆ เป็นต้น
จากเหตุผลดังกล่าวทางชมรมตาดีกา หมู่ 6 ตากอง มองเห็นว่าถ้าได้มีการส่งเสริมจัดกิจกรรมให้เด็กๆได้มาเรียนรู้ มารวมกลุ่มทำกิจกรรมเป็นสิ่งที่ดี จึงได้จัดทำโครงการของบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตุยงเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ ทัศนคติที่ดีในการบริโภคอาหารและสื่อออนไลน์
- เพื่อให้นักเรียนมีภูมิคุ้มกันในการดำเนินชีวิตและเติบโตตามพัฒนาการตามวัย อันพึงประสงค์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมผู้ปกครอง เครือข่ายสุขภาพในพื้นที่
- คัดกรอง ตรวจสุขภาพ
- ส่งเสริมกิจกรรมการเคลื่อนไหว ขยับกาย
- อบรมให้ความรู้
- ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
90
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กและเยาวชนสามารถนำความรู้ที่ได้จากการอบรมและเข้าร่วมกิจกรรม ไปใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเองในการเฝ้าระวัง ควบคุมโรคหรือภัยสุขภาพต่างๆ และเผยแพร่แก่คนในครอบครัวได้
- เด็กและเยาวชนมีทัศนคติที่ดี และเติบโตตามพัฒนาการตามวัย อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
- นักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรง สมส่วน พัฒนาการตามวัย
- เด็กและเยาวชนรักการออกกำลังกาย
- เกิดความรัก ความสามัคคี ในการอยู่ร่วมกัน
- เด็กและเยาวชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ ทัศนคติที่ดีในการบริโภคอาหารและสื่อออนไลน์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ของนักเรียนมีความรู้ ทัศนคติ ที่ดีในการบริโภคอาหารและสื่อออนไลน์ต่างๆ
90.00
86.00
2
เพื่อให้นักเรียนมีภูมิคุ้มกันในการดำเนินชีวิตและเติบโตตามพัฒนาการตามวัย อันพึงประสงค์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของนักเรียนมีพัฒนาการตามวัยอันพึงประสงค์
90.00
90.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
90
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
90
กลุ่มวัยทำงาน
0
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ ทัศนคติที่ดีในการบริโภคอาหารและสื่อออนไลน์ (2) เพื่อให้นักเรียนมีภูมิคุ้มกันในการดำเนินชีวิตและเติบโตตามพัฒนาการตามวัย อันพึงประสงค์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมผู้ปกครอง เครือข่ายสุขภาพในพื้นที่ (2) คัดกรอง ตรวจสุขภาพ (3) ส่งเสริมกิจกรรมการเคลื่อนไหว ขยับกาย (4) อบรมให้ความรู้ (5) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมโภชนาการ ตาดีกาตากอง ปี 68 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3065-2-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอุสมาน หะยีสมาแอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมโภชนาการ ตาดีกาตากอง ปี 68 ”
หมู่ที่ 6 ตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายอุสมาน หะยีสมาแอ
กันยายน 2568
ที่อยู่ หมู่ที่ 6 ตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3065-2-04 เลขที่ข้อตกลง 09/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมโภชนาการ ตาดีกาตากอง ปี 68 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 6 ตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมโภชนาการ ตาดีกาตากอง ปี 68
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมโภชนาการ ตาดีกาตากอง ปี 68 " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 6 ตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3065-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนในพื้นที่จากสังคมชนบทเป็นสังคมเมือง สิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆเป็นปัจจัยหลักในการใช้ชีวิตของคนส่วนมาก สัมพันธภาพในครอบครัว ความอบอุ่น ขาดหายไปโดยไม่รู้ตัวผู้ปกครองไม่มีเวลาดูแลบุตรหลาน กินอาหารสำเร็จรูปกันมากขึ้นโดยไม่ได้ดูคุณค่าทางโภชนาการ ลืมในเรื่องของสุขภาพลูกๆ มองข้ามในเรื่องของภัยมืดที่คุกคามสุขภาพ เช่น การบริโภคอาหารสำเร็จรูป เด็กมีภาวะอ้วนเพิ่มขึ้น เด็กติดเกมส์ขาดกิจกรรมในการเคลื่อนไหว ขยับกาย การออกกำลังกาย ฯลฯ ดังกล่าวข้างต้น ผู้ปกครองทุกคนที่จะต้องรับผิดชอบร่วมหากมีความรัก เป็นห่วงกับลูกของตัวเอง หากไม่ดูแลพฤติกรรมตั้งแต่ยังเด็กจะเกิดการสะสมส่งผลต่อสุขภาวะของเด็ก เช่น เด็กมีน้ำหนักเกินเกณฑ์หรือทานไม่ถูกต้องก็จะต่ำกว่าเกณฑ์ เด็กมีภาวะซีด มีภูมิคุ้มกันต่ำ ป่วยง่าย เป็นต้นต้องช่วยกันป้องกันและแก้ไข ทางชมรมตาดีกา หมู่ 6 ตากอง เห็นควรว่าการป้องกันปัญหาข้างต้นต้องแก้และป้องกันตั้งแต่กลุ่มเป้าหมายที่ยังเป็นเด็กวัยเรียน เพื่อจะได้เพาะองค์ความรู้ ทัศนคติ และปลูกจิตสำนึกที่ดีตั้งแต่เยาว์วัย มองเห็นว่าในขณะนี้เด็กมีพฤติกรรมทางด้านสุขภาพที่มีภาวะเสี่ยง เนื่องจากบริโภคนิยมที่กินขนมประเภทแป้ง น้ำตาล ขาดกิจกรรมทางกาย ขาดทักษะชีวิต เหตุเนื่องจากสิ่งอำนวยความสะดวกที่พ่อแม่หาให้ เด็กมีความก้าวร้าว โลกส่วนตัวสูง เนื่องจากสื่อต่างๆเช่น ติดเกมส์ สื่อออนไลน์ต่างๆ เป็นต้น จากเหตุผลดังกล่าวทางชมรมตาดีกา หมู่ 6 ตากอง มองเห็นว่าถ้าได้มีการส่งเสริมจัดกิจกรรมให้เด็กๆได้มาเรียนรู้ มารวมกลุ่มทำกิจกรรมเป็นสิ่งที่ดี จึงได้จัดทำโครงการของบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตุยงเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ ทัศนคติที่ดีในการบริโภคอาหารและสื่อออนไลน์
- เพื่อให้นักเรียนมีภูมิคุ้มกันในการดำเนินชีวิตและเติบโตตามพัฒนาการตามวัย อันพึงประสงค์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมผู้ปกครอง เครือข่ายสุขภาพในพื้นที่
- คัดกรอง ตรวจสุขภาพ
- ส่งเสริมกิจกรรมการเคลื่อนไหว ขยับกาย
- อบรมให้ความรู้
- ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 90 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กและเยาวชนสามารถนำความรู้ที่ได้จากการอบรมและเข้าร่วมกิจกรรม ไปใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเองในการเฝ้าระวัง ควบคุมโรคหรือภัยสุขภาพต่างๆ และเผยแพร่แก่คนในครอบครัวได้
- เด็กและเยาวชนมีทัศนคติที่ดี และเติบโตตามพัฒนาการตามวัย อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
- นักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรง สมส่วน พัฒนาการตามวัย
- เด็กและเยาวชนรักการออกกำลังกาย
- เกิดความรัก ความสามัคคี ในการอยู่ร่วมกัน
- เด็กและเยาวชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ ทัศนคติที่ดีในการบริโภคอาหารและสื่อออนไลน์ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ของนักเรียนมีความรู้ ทัศนคติ ที่ดีในการบริโภคอาหารและสื่อออนไลน์ต่างๆ |
90.00 | 86.00 |
|
|
2 | เพื่อให้นักเรียนมีภูมิคุ้มกันในการดำเนินชีวิตและเติบโตตามพัฒนาการตามวัย อันพึงประสงค์ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของนักเรียนมีพัฒนาการตามวัยอันพึงประสงค์ |
90.00 | 90.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 90 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 90 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 0 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ ทัศนคติที่ดีในการบริโภคอาหารและสื่อออนไลน์ (2) เพื่อให้นักเรียนมีภูมิคุ้มกันในการดำเนินชีวิตและเติบโตตามพัฒนาการตามวัย อันพึงประสงค์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมผู้ปกครอง เครือข่ายสุขภาพในพื้นที่ (2) คัดกรอง ตรวจสุขภาพ (3) ส่งเสริมกิจกรรมการเคลื่อนไหว ขยับกาย (4) อบรมให้ความรู้ (5) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมโภชนาการ ตาดีกาตากอง ปี 68 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3065-2-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอุสมาน หะยีสมาแอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......